Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/869
Title: A Comparison of Forecasting Techniques Regarding the Demand for Eggs in Thailand
การเปรียบเทียบเทคนิคพยากรณ์ความต้องการซื้อไข่ไก่ในประเทศไทย
Authors: Kleebmek, Tammarat
Pornpakdee, Yada
Pongkan, Piyanuch
ธรรมรัตน์ กลีบเมฆ
ญาดา พรภักดี
ปิยนุช ป้องกัน
Keywords: Egg Demand
Box-Jenkins
Winters’ Additive Exponential Smoothing
Simple Linear Regression
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เฉลิมพล จตุพร และคณะ. (2559). ตัวแบบพยากรณ์ผลผลิตและปริมาณส่งออกยางพาราของประเทศไทย. วารสารแก่น เกษตร, 44 (2), 219 - 228.
ซีพีเอฟ. (2558). การบริโภคไข่ไก่ของคนไทย. ค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563. จาก https://www.cpfworldwide.com
ณัฏฐนันท มุขมา และคณะ. (2561). การพยากรณ์จำนวนนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย. วารสารวิทยา ศาสตรและเทคโนโลยี, 26 (3), 417 -428.
ทรงศิริ แต้สมบัติ.(2549). การพยากรณ์เชิงปริมาณ, กรุงเทพ, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญฤทธิ์ ชูประดิษฐ์ และเสาวภา ชัยพิทักษ์. (2561). ตัวแบบพยากรณ์ปริมาณส่งออกมะม่วงของประเทศไทย. วารสารวิทยา ศาสตรและเทคโนโลยี, 26 (2), 74 - 85.
พิชญากร เลค. (2559). การทำนายจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยโดยใช้การ วิเคราะห์อนุกรมเวลา ด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจำปี 2559.
มุกดา แม้นมินทร์. (2549). อนุกรมเวลาและการพยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพ. สำนักพิมพ์ประกายพรึก
สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่. (2562). ปริมาณการผลิต ราคา การบริโภคไข่ไก่. ค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563. จาก เว็บไซต์ http://www.egg-thailand.com
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). ดัชนีราคาและผลผลิต. ค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563. จากเว็บไซต์ http://www.oae.go.th
วรางคณา เรียนสุทธิ์. (2562). ตัวแบบพยากรณ์ราคาไข่ไก่. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา, 11 (22), 196 - 211.
วรางคณา เรียนสุทธิ์ (2559) การพยากรณ์ราคาน้ำยางธรรมชาติ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24 (2). 211 - 214
Abstract: The purpose of this research is to construct the most suitable forecasting model regarding the demand for eggs in Thailand. The data comes from the Office of Agricultural Economics, Department of Agricultural Extension. A comparison of forecasting techniques utilizes three forecasting methods namely, Winters’ Additive Exponential Smoothing method, Box-Jenkins method and Simple Linear Regression method. Comparing the accuracy of the forecasting models by considering the mean absolute percentage error (MAPE) and root mean squared error (RMSE). The results have shown that the Box- Jenkins method is the most accurate of the forecasting models.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาตัวแบบพยากรณ์ที่เหมาะสมกับข้อมูลอนุกรมเวลาปริมาณความต้องการซื้อไข่ไก่ ของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งใช้เทคนิคการสร้างตัวแบบ พยากรณ์ทางสถิติ 3 วิธี ได้แก่ วิธีการปรับให้เรียบเอกซ์โพเนนเชียลด้วยวิธีของวินเทอร์แบบบวก วิธีบอกซ์-เจนกินส์ และ วิธีการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย เมื่อกำหนดให้ปริมาณผลผลิตเป็นตัวแปรต้น เปรียบเทียบความแม่นยำของตัวแบบพยากรณ์ ด้วยเกณฑ์ร้อยละของความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย และเกณฑ์รากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยต่ำสุด ผลการวิจัยพบว่าตัวแบบจากวิธีบอกซ์-เจนกินส์เป็นตัวแบบพยากรณ์ที่มีความแม่นยำสูงที่สุด
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/869
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.