Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorTosantia, Nattha-
dc.contributor.authorTosantia, Natcha-
dc.contributor.authorMalinin, Kanjana-
dc.contributor.authorTuscharoen, Suparat-
dc.contributor.authorSiengsanoh, Kittipong-
dc.contributor.authorSiengsanoh, Mattanee-
dc.contributor.authorณัฎฐา โตสันเทียะ-
dc.contributor.authorณัฐชา โตสันเทียะ-
dc.contributor.authorกาญจนา มะลินิล-
dc.contributor.authorศุภรัตน์ ทัศน์เจริญ-
dc.contributor.authorกิตติพงษ์ เสียงเสนาะ-
dc.contributor.authorมัทนี เสียงเสนาะ-
dc.date.accessioned2021-03-24T06:38:37Z-
dc.date.available2021-03-24T06:38:37Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationจิระวรรณ อังศธรรมรัตน์ และพรสิริ เอี่ยมแก้ว (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดวิเคราะห์และ เจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัย ร่วมกับนิรนัย และ แบบปกติ. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการจัดการหลักสูตรและ การเรียนรู้: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.-
dc.identifier.citationจิระวรรณ อังศธรรมรัตน์ และพรสิริ เอี่ยมแก้ว (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดวิเคราะห์และ เจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัย ร่วมกับนิรนัย และ แบบปกติ. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการจัดการหลักสูตรและ การเรียนรู้: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.-
dc.identifier.citationปวริศ นันทรัตน์กุล (2557). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจในทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัสของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีการเรียนแบบร่วมมือแบบ แบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ผสมผสาน กับการสอนแบบอุปนัย โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย จังหวัดราชบุรี.บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationสายแก้ว เรืองทัพ และคณะ (2560). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอนแบบอุปนัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความคงทนในการเรียนรู้วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สาขาวิชาการจัดการหลักสูตรและการ เรียนรู้ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.-
dc.identifier.citationอนุรักษ์ วภักดิ์เพชร (2556) . ผลการใช้ชุดการสอนแบบนิรนัยและอุปนัยร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่ ส่งผลต่อการแก้ปัญหา เจตคติและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียน บะฮีวิทยาคม. บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.-
dc.identifier.citationอัมพร ชัยฤทธิ์ และกัญญารัตน์ โคจร (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และ เจตคติต่อ การเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยร่วมกับนิรนัย และ แบบปกติ. สาขาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.-
dc.identifier.citationอรนุช โวหารกล้า และพัดตาวัน นาใจแก้ว (2559). มโนมติแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบอปุนัยเสริมด้วย กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี.-
dc.identifier.citationหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560).ที่มา : http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=75-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/840-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1 ) to compare learning achievement in physics. Linear motion of students before and after learning by using inductive method. 2 ) To compare the learning achievement in physics linear motion of students after study by using inductive method with 70 percent criterion. The target group in the research is 3 0 the secondary school level 4 students, selected by specific selection. Learning management plans using inductive method. The tools used for collecting data were statistical tests used in data analysis such as frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and Item-Objective Congruence Index (IOC). The research found that 1. Academic achievement in physics on linear motion After studying higher than before using the inductive learning management, the calculated t value was 23.29 which showed that the post-learning achievement score was higher than before learning at the statistical significance level of .05 2. Physics achievement in linear motion after studying using inductive learning management 70 percent above the threshold.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง ของนักเรียนหลังการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายที่ ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t-test และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัย ค่า t ที่ได้จากการคำนวณมีค่าเท่ากับ 23.29 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย สูง กว่าเกณฑ์ร้อยละ 70-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectInductive Methoden_US
dc.subjectLearning Achievementen_US
dc.subjectLinear motionen_US
dc.titleThe development of physics achievement on linear motion for the secondary school level 4 using Inductive methoden_US
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.