Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/837
Title: Creating value added of Phitsanulok indigenous foods by designing packaging
การสร้างมูลค่าเพิ่มของอาหารพื้นถิ่นพิษณุโลกด้วยการออกแบบบรรจุภัณฑ์
Authors: Chunlakan, Phondaran
Promjeen, Kanokwan
Suriwong, Voraluck
พรดรัล จุลกัลป์
กนกวรรณ พรมจีน
วรลักษณ์ สุริวงษ์
Keywords: indigenous foods
food packaging
value added
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เชาวลี ชุมขำ. (2556). หนังสือพิมพ์เดลินิวส์; คอลัมน์ ช่องทางทำกิน: ‘เมี่ยงบัวหลวง’ 1 คำ สารพัดประโยชน์. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2559 จาก https://www.rmutt.ac.th/content/29643.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 356. (2556). ราชกิจจานุเบกษา: เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท. ค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2559. จาก http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P356.pdf.
พรดรัล จุลกัลป์ วรลักษณ์ สุริวงษ์ และกนกวรรณ พรมจีน. (2559). รายงานการวิจัยเรื่อง วิวัฒนาการของบรรจุภัณฑ์ อาหารพื้นถิ่นเมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
มนสุวีร์ ไพชำนาญ. 2552. ผลของการปฏิบัติระหว่างการเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยวน้ำตาลโตนดสดต่อคุณภาพ ผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนดเข้มข้น. สงขลา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วรลักษณ์ สุริวงษ์ ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ พรดรัล จุลกัลป์ กนกวรรณ พรมจีน และสุรินทราพร ชั่งไชย. (2560). การพัฒนา ผลิตภัณฑ์แกงหยวกบรรจุรีทอร์ตเพาซ์ด้วยกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน. รายงานสืบเนื่องการประชุม วิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560. วันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
สุรีย์ นานาสมบัติ. (2534). การเสียของกล้วยตากและการเก็บรักษาในสภาพควบคุมความชื้นสัมพัทธ์. กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุขเกษม วงศ์สุบรรณ. ห้องสมุดกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2557). คอลัมน์พิเศษ: ตาลโตนด เส้นทางจากหัวไร่ปลายนาสู่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2559. จาก http://library.dip.go.th/multim6/edoc/2557/23138.pdf.
อภิชญา ทองทับ. (2554). รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์กล้วยอบพลังงานแสงอาทิตย์. เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Abstract: The objective of this research is to design (graphic) Phitsanulok indigenous foods packaging for creating added value. The results of indigenous foods packaging survey found that most of the savory food packaging is polyethylene plastic bags (hot bags), while the packaging of sugary foods and snacks is diverse, including packaging from natural materials (banana leaves), plastic bags, plastic boxes with lid rigid, plastic box and foam packaging. Graphic design results on indigenous foods packaging, consisting of 4 products, including banana curry in retort pouch bags, ready to drink fresh sugar, dry banana packed in foil and Miang Kham set shown that the package design contributes to the satisfaction of consumers in indigenous food products and has a greater impact on consumer acceptance. Because it makes sure to consume products that are safe, modern and meet the needs.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ (กราฟิก) บรรจุภัณฑ์อาหารพื้นถิ่นพิษณุโลกเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลการ สำรวจบรรจุภัณฑ์อาหารพื้นถิ่นพบว่า บรรจุภัณฑ์อาหารคาวส่วนใหญ่เป็นถุงพลาสติกชนิดโพลีแอททิลีน (ถุงร้อน) ในขณะที่ บรรจุภัณฑ์อาหารหวานและอาหารว่างมีความหลากหลายทั้งบรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ (ใบตอง) ถุงพลาสติก กล่อง พลาสติกแบบมีฝาปิด กล่องพลาสติกแข็งขึ้นรูป และบรรจุภัณฑ์จากโฟม ผลการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์อาหารพื้นถิ่น จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แกงหยวกสำเร็จรูปบรรจุถุงรีทอร์ตเพาซ์ น้ำตาลสดพร้อมดื่มพาสเจอไรส  กล้วยตากบรรจุถุงฟอยด์ และชุดเมี่ยงคำ แสดงให้เห็นว่าการออกแบบบรรจุภัณฑ์มีส่วนให้ผู้บริโภคพึงพอใจในผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่นและมีผลต่อการ ยอมรับของผู้บริโภคมากขึ้น เพราะทำให้มั่นใจว่าจะได้บริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย ทันสมัย และตรงตามความต้องการ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/837
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.