Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNunkong, Wongjun-
dc.contributor.authorSaeui, Nattaporn-
dc.contributor.authorวงจันทร์ นุ่นคง-
dc.contributor.authorณัฐฐาพร แซ่อุ้ย-
dc.date.accessioned2021-03-24T03:33:04Z-
dc.date.available2021-03-24T03:33:04Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมพัฒนาที่ดิน. (2553). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการตรวจสอบดินทางเคมี. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562, จาก http://www.ldd.go.th/PMQA/2553/Manual/OSD-03.pdf.-
dc.identifier.citationกองอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง. การใช้ประโยชน์จากอ้อย. (ม.ป.ป.) ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.ocsb.go.th/upload/bioindustry/fileupload/9659-4776.pdf.-
dc.identifier.citationกิตติชัย โสพันนา, วิชชุดา ภาโสม, กนกวรรณ วรดง และอนันตสิทธ์ ไชยวังราช. (2558). การประดิษฐ์และสมบัติของกระถาง ชีวภาพ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2 (2), 1-7.-
dc.identifier.citationดลยา หนูแก้ว. (2554). การศึกษาวัสดุปลูกสำหรับสวนหลังคา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationทัศนุพันธุ์ กุศลสถิตย์. (2542). ความเป็นไปได้ในการใช้เม็ดดินเผาเป็นวัสดุปลูก. ปัญหาพิเศษปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationมหาวิทยาลัยของแก่น. (2561). องค์ความรู้สำหรับการพัฒนาด้านอ้อย. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.ocsb.go.th/upload/learning/fileupload/5336-7406.pdf-
dc.identifier.citationวิชัย ดำรงค์โภคภัณฑ์. (2555). เทคโนโลยีการนำเปลือกไข่มาใช้ประโยชน์. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 11 (2), 75-83.-
dc.identifier.citationสินีนาถ ชัยศักดานุกูล และศศินิภา เชาวนนทปัญญา. (2554). การพัฒนาชุดอุปกรณ์การให้น้ำสำหรับสวนแนวตั้ง. โครงงานวิศวกรรมชลประทานปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationสุดา เรืองณรงค์. (2554). การศึกษาตัวอย่างน้ำและดินทางเคมี โครงการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรมทรัพยากรธรณี.-
dc.identifier.citationสุปราณี อบเทียน, สิรินารี เงินเจริญ และประทีป อูปแก้ว. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตวัสดุปลูกจากกากชาน อ้อยและกากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสีย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงค์กร ในพระบรม ราชูปถัมป์, 12 (1), หน้า 79-91.-
dc.identifier.citationสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). สถิติการเกษตรของประเทศไทย 2562. น.120 ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/jounal/2563/yearbook62edit.pdf.-
dc.identifier.citationอภิรักษ์ หลักชัยกุล. (2540). การศึกษาวัสดุอินทรีย์เป็นวัสดุปลูกพืชในระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationอาทิตยา กาญจนะ. (2557). การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้กากใบชาจากอุตสาหกรรมเครื่องดื่มเพื่อทดแทนการใช้ ชิ้นไม้สับในการผลิตแผ่นปาร์ติเกิล. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.-
dc.identifier.citationBanitalebi G., Mosaddeghi R. M., and Shariatmadari H. (2019). Feasibility of agricultural residues and their biochars for plant growing media: Physical and hydraulic properties. Retrieved May 25, 2020, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0956053X19301059.-
dc.identifier.citationBarrett G.E., Alexander P.D., Robinson J.S., and Bragg N.C. (2016). Achieving environmentally sustainable growing media for soilless plant cultivation systems-A review. Retrieved May 25, 2020, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S030442381630471X.-
dc.identifier.citationGreen roof technology. (2020). Extensive green roof. Retrieved June 7, 2020, from http://www.greenrooftechnology.com/extensive-green-roof-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/835-
dc.description.abstractThis research aimed to find out the possibility of the growing material development: bagasse, sawdust and eggshell. For studying both physical and chemical properties, the proportions were divided into four methods by weight (bagasse : sawdust : eggshell) 1) 75:75:0, 2) 75:75:15, 3) 75:75:30 and 4) 75:75:45, and the controlled quantity of starch paste was used as a binder. The results found that all proportions were able to form growing media. The 3th proportion was the most appropriate for the growing material development. Its physical properties were a moderately smooth texture with a good adhesion, the average water absorption at 38.92% and the average slake at 2.77%. For chemical properties, the results found that the pH (potential of Hydrogen) at 6.02 and the electrical conductivity (EC) at 3.58 dS/m, which showed the salinity of the growing material that possibly affect sensitive plants. Furthermore, adding more eggshell, the water absorption and electrical conductivity (EC) also increased.en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาวัสดุปลูกจากชานอ้อย ขี้เลื่อย และเปลือกไข่ไก่ โดย วิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุปลูกด้านกายภาพและเคมี ทั้งหมด 4 อัตราส่วน (ชานอ้อย:ขี้เลื่อย:เปลือกไข่ไก่) ได้แก่ 1) 75:75:0 2) 75:75:15 3) 75:75:30 และ 4) 75:75:45 โดยน้ำหนัก กำหนดให้ปริมาณวัสดุประสานกาวแป้งเปียกคงที่ ผลการศึกษา พบว่า ทุกอัตราส่วนสามารถขึ้นรูปเป็นวัสดุปลูกได้ และอัตราส่วนที่ 3 เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาเป็นวัสดุปลูก กล่าวคือ วัสดุ ปลูกมีลักษณะทางกายภาพ คือ พื้นผิวค่อนข้างเรียบ และมีการยึดเกาะของวัสดุได้ดี มีค่าการดูดซึมน้ำเฉลี่ยร้อยละ 38.92 และค่าการสลายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.77 สำหรับคุณสมบัติทางเคมี พบว่า มีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) 6.02 และจากค่าการนำ ไฟฟ้า (EC) 3.58 dS/m แสดงให้เห็นถึงความเค็มของวัสดุปลูกที่อาจส่งผลกระทบกับพืชที่อ่อนไหวต่อความเค็มได้ นอกจากนี้ การเพิ่มปริมาณเปลือกไข่ไก่ส่งผลให้ค่าการดูดซึมน้ำและค่านำไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นด้วย-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectbagasseen_US
dc.subjectsawdusten_US
dc.subjecteggshellen_US
dc.subjectgrowing materialen_US
dc.titlePossibility of Growing Material from Bagasse Sawdust and Eggshellen_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ของวัสดุปลูกจากชานอ้อย ขี้เลื่อย และเปลือกไข่ไก่-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.