Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/834
Title: The study of protein extraction from leather waste
การศึกษาการสกัดโปรตีนจากเศษหนังฟอกโครม
Authors: Sripanlom, Thanyanan
Chaichana, Vanida
Cheunjaidee, Warailuk
Nilwanna, Nittaya
ธันยนันท์ ศรีพันธ์ลม
วนิดา ชัยชนะ
วลัยลักษณ์ ชื่นใจดี
นิตยา นิลวรรณา
Keywords: Leather shaving
Protein, Alkaline protease
Chromium
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: นภา ศิวรังสรรค์. (2542). รายงานการวิจัยเรื่อง การสกัดโครเมียมออกจากเศษหนังฟอกโครมโดยวิธีการย่อยสลายด้วย เอนไซม์ เพื่อนำโปรตีนกลับมาใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช.
นภา ศิวรังสรรค์ และคณะ. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การแยกโปรตีนจากเศษหนังฟอกโครมด้วยแอลคาไลน์โปรติเอส เพื่อใช้เป็นอาหารปลา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เสาวลักษณ์ ทูลเดช. (2556). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการสกัดโปรตีนไฮโดรไลเซทจากมะรุม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
อภิศักดิ์ สิทธิโชคอรุณ. (2544). การกำหนดค่าปล่อยมลพิษ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมฟอกหนัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sudha, P. N., Latha, S. and Bharghavi , V. L. N. (2011). Towards chrome free chicken-A pilot scale study to remove chromium from leather waste, a source for poultry feed manufacture. Environ. Sci. An Indian J, 6 (3), 1-6.
Taylor, M. M., Diefendorf, E. J., Marmer, W. N. and Brown, E. M. (1993). Enzymatic processing of materials containing chromium and protein. U.S. Patent 5,271,912.
Taylor, M. M., Diefendorf, E. J., Marmer, W. N. and Brown, E. M. (1994). Effect of various alkalinity-inducing agents on chemical and physical properties of protein products isolated from chromiumcontaining leather waste. Journal of the American Leather Chemistry Association. 89: 221- 228.
Abstract: In this research, the protein was extracted from leather waste by using alkaline protease produced by Bacillus amyloliquefaciens. The purpose of this research is to investigate the method of protein extraction from leather waste by chemical method associated with alkaline protease enzyme. Two extraction methods were compared here: 1) protein extraction with acid-base and enzyme; 2) protein extraction with base and enzyme. The results show that the protein extraction methods with base-enzyme can produce protein extracts of 92.23±9.61 mg/L at the first extraction. And the second extraction, the protein extracts were 84.57±6.11 mg/L. For protein extraction methods with acid-base and enzyme, it gave the protein extracts of 18.23±4.16 mg/L and then second extraction gave the protein extracts of 10.90±7.21 mg/L. It can be seen that the protein extraction method with base-enzyme is the most effective method for extracting protein with significant statistical difference.
งานวิจัยนี้ได้ทำการสกัดโปรตีนจากเศษหนังฟอกโครมโดยใช้อัลคาไลน์โปรติเอสที่ผลิตโดยเชื้อ Bacillus amyloliquefaciens มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสกัดโปรตีนจากเศษหนังฟอกโครมโดยวิธีทางเคมีร่วมกับเอนไซม์ อัลคาไลน์โปรติเอส เปรียบเทียบ 2 วิธี คือ 1) การสกัดโปรตีนด้วยกรด-เบสและเอนไซม์ 2) การสกัดโปรตีนด้วยเบสและ เอนไซม์ ผลการวิจัยพบว่า ในการสกัดโปรตีนโดยใช้เบสและเอนไซม์การย่อยครั้งที่ 1 สกัดโปรตีนได้ปริมาณ 92.23±9.61 มิลลิกรัมต่อลิตร ทำการย่อยต่อเนื่องครั้งที่ 2 พบว่า สามารถสกัดโปรตีนได้อีกปริมาณ 84.57±6.11 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วน การสกัดโปรตีนโดยกรด-เบสและเอนไซม์ สามารถสกัดโปรตีนครั้งที่ 1 ได้ปริมาณ 18.23±4.16 มิลลิกรัมต่อลิตร ทำการย่อย ต่อเนื่องครั้งที่ 2 ได้โปรตีนปริมาณ 10.90±7.21 มิลลิกรัมต่อลิตร การสกัดโปรตีนจากเศษหนังฟอกโครมโดยใช้เบสและเอนไซม์ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการสกัดโปรตีนซึ่งมีค่าทางสถิติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/834
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.