Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/831
Title: THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES BY BRAINSTROMIMG AND SCENARIO METHOD TO PROMOTE FUTURISTIC THINKING FOR GRADE 5 STUDENTS
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงอนาคต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Authors: Chanthrasa, Natnicha
Sutthirat, Assoc.Prof.Dr. Chaiwat
ณัฐณิชา จันทราสา
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์
Keywords: Brainstorming
Scenario Method
Futuristic Thinking
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ.(2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน.พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2541). สอนอย่างไรให้คิดเป็น. วิทยาจารย์, 97(3-5) มีนาคม.-พฤษภาคม, 77-79
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ : สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/ Default.axpx? tabid395.
จิรพร สุเมธีประสิทธิ์. (2555). Scenario-Based Planning การวางแผนโดยสร้างฉากทัศน์อนาคต. เข้าถึงได้จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/chirapon/2012/08/13/entry-2.
เฉลิม ฟักอ่อน. (2552). การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยเทคนิค Backward design ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย ปีที่ 5.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น.
ภนิดา ชัยปัญญา. (2541). การวัดความพึงพอใจ. กรุงเทพฯ: แสงอักษร.
เรวัต ตันตยานนท์. (ม.ป.ป.). เครื่องมือสร้างและวิเคราะห์ฉากทัศน์อนาคต. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/646350.
วันเพ็ญ วรรณโกมล. (2544). การพัฒนาการสอนสังคมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎธนบุรี.
สิริวรรณ สุวรรณอาภา. เอกสารการสอนชุดวิชาระบบการเรียนการสอน Learning teaching system. (พิมพ์ครั้งที่ 14). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2543.
สุวิทย์ มูลคำ (2547). กลยุทธการสอนสังเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2547). การผลิตชุดการสอน. ราชบุรี: ธรรมรักษ์การพิมพ์.
สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2553). การสร้างสื่อการสอนและนวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน. สุพรรณบุรี: โรงเรียน สุวรรณภูมิ.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). เครื่องมือการมองอนาคต. เข้าถึงได้จาก https://ifi.nia.or.th/wp-content/uploads/2019/11/ foresight_tools-2.pdf
อรุณี รัตนชาญชัย. (2557). ผลการใช้บทเรียนออนไลน์ร่วมกับเทคนิคการระดมสมอง รายวิชา การสร้างเว็บเพจ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.
อัมราลักษณ์ ไชยวงศ์ษา. (2548). การศึกษาคุณลักษณะนักคิดเชิงอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดลำพูน. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อารี พันธ์มณี. (2545). ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ใยไหม.
อารี แสงขำ (2550). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบระดมสมอง.
เอกรินทร์ ลี่มหาศาล และคณะ. (2552). เรื่องน่ารู้สู่การใช้หลักสูตร. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
อุบลรัตน์ เพ็งสถิต. (2542). จิตวิทยาพัฒนาการ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. บทความในวารสารนิตยสารและ หนังสือพิมพ์.
Edward De Bono. (1973). Lateral Thinking : Creativity Step by Step. New York: Harper & Row, Publishers. Hall, James N. (1983). Futurlogics a system of perspective thinking. (Online). Available: http://futures.rio.maricopa.edu/workshop: html.Retrived September 2, 2003.
Lambardo, Thomas. (2000). General Model for Futures Education. (Online). Available: http://futures.rio.maricopa.edu/workshop: html. Retrived September 2, 2003.
Mcclelland, D.C.; & Winter, D.G. (1969). Motivation Economic Achievement. New York: The Free Press.
Osborn, A.F. (1957). Applied Imagination. New York: Scribner.
Wehmeyer, Lillian Biermann. (1986). Futuristics. New York: A Growth Company
Abstract: The purpose of this study were to 1) develop of learning activities with the 75/75 efficiency index. 2) study students outcome taught by using of learning activities. 3) study the satisfaction of students towards the learning activities The research procedure comprised 3 steps. Step 1 was to develop of learning activities. Step 2 was to compare of students’ futuristic thinking with a 75 percent criterion. Step 3 was to study the satisfaction of grade 5 students towards the learning activities. The samples were 40 grade 5 students at Pibulsongkram Rajabhat University Demonstration School. The research which took 12 instructional periods to complete. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean, standard deviation and One-Sample T-Test. The results of this study are 1) Learning activities by brainstorming and scenario method to promote futuristic thinking for grade 5 students had effective E1/E2 at the criterion of 83.05/80.37 2) The students’ futuristic thinking post-test scores was significantly higher than the criterion of 75 percentage at the statistic significant level of .05 3) The students’ satisfaction towards the learning activities by brainstorming and scenario method was in high level. (x̄ = 4.21, S.D. = 0.46)
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการระดมสมองและ กระบวนการสร้างฉากทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงอนาคต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงอนาคต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้เทคนิคการระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ กับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด เชิงอนาคต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดำเนินการวิจัยดังนี้ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิด เชิงอนาคตของนักเรียนหลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค การระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 40 คน ใช้เวลาทดลอง 12 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t – test (one sample) ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ เพื่อส่งเสริม ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.05/80.37 2) นักเรียนมีความสามารถในการคิดเชิงอนาคต หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการระดมสมองและกระบวนการสร้างฉากทัศน์ อยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.21, S.D. = 0.46)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/831
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.