Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสาน ตั้งยืนยงวัฒนา-
dc.contributor.authorPornphol, Walailuk-
dc.contributor.authorTangyuenyongwatana, Prasan-
dc.contributor.authorวลัยลักษณ์ พรผล-
dc.date.accessioned2021-03-15T02:46:55Z-
dc.date.available2021-03-15T02:46:55Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรุงเทพธุรกิจ. (2561). เปิด 3 ตำรับยา “ยุคพระนารายณ์” ใช้ถึงยุคปัจจุบัน. ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.bangkok biznews.com/news/detail/797993.-
dc.identifier.citationคัทลียา เมฆจรัสกุล. (2560). การดูดซึมทางผิวหนัง (Percutaneous absorption). ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://ccpe. Pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id =390.-
dc.identifier.citationฐาปนีย์ หงส์รัตนาวรกิจ. (2550). น้ำมันหอมระเหยและการใช้ในสุคนธบำบัด. นครนายก: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.-
dc.identifier.citationบ้านเมือง. (2562). เปิดตัวโอสถพระนารายณ์ 3 ตำรับรักษาผู้ป่วยติดเตียง. ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.ban muang .co.th/news/region/141189.-
dc.identifier.citationพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ, อุษา เก็จวลีวรรณ และ ณิซารีย์ เนตรทอง. (2555). คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ตำราพระโอสถพระนารายณ์). (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรม พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.-
dc.identifier.citationพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. (ม.ป.ป.) Emulsifier / อิมัลซิไฟเออร์. ค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0303/emulsifier.-
dc.identifier.citationวราภรณ์ จรรยาประเสริฐ. (2555). นาโนเทคโนโลยีในการนำส่งทางผิวหนัง. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.-
dc.identifier.citationวิชญาณี พันธ์งาม, สมชาย สุริยะไกร, สักการ สังฆมานนท์ และ ศุภชัย ติยวรนันท์. (2561). การเทียบมาตรฐานปริมาตร ทะนาน และผลที่มีต่อประสิทธิผลของยาเตรียม. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.16 (1), 22-32.-
dc.identifier.citationสุกรรณิการ์ ทับทิมศรี. (2560). ยาต้านจุลชีพสำหรับใช้ภายนอกในรูปแบบไมโครอิมัลชัน. ค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id= 230.-
dc.identifier.citationBhargava, H. N., Narurkar, A., & Leieb, L. M. (1987). Using microemulsions for drug delivery. Pharmaceutical Technology. 11, 46-50.-
dc.identifier.citationChangez, M., & Varshney, M. (2 0 0 0 ). Aerosol-OT microemulsion as transdermal carriers of tetracaine hydrochlo- ride. Drug Development and Industrial Pharmacy. 26 (5), 507-512.-
dc.identifier.citationDelgado-charro, M. B., Lglesias-Vilas, G., Blanco-Mendez, J., Lopez-Quintela, M. A., Marty, J., & Guy, R. H. (1 9 9 7 ). Delivery of a hydrophilic solute through the skin from novel microemulsion system. European Journal of Pharmaceutics and Biopharmaceutics. 43, 37-42.-
dc.identifier.citationEccleston, G. M. (1988). Microemulsion. In: Swarbrick, J., Boylan, J. C., editors. Encyclopedia of pharmaceutical Technology. New York: Marcel Dekker. 375-421.-
dc.identifier.citationKantarci, G., Ozguney, I., Karasulu, Y., Arzik, S., & Guneri, T. (2007). Comparision of different water/ oil microemulsions containing diclofenac sodium: preparation, characterization, release rate and skin irritation studies. American Association of Pharmaceutical Scientists. 8 (4), E1-E7.-
dc.identifier.citationKhajitkhajonwong, S., Leesajakul, W., & Channarong, S. (2016). Plai oil itself as oil phase in microemulsion preparation: Development and characterization. The 7 th Academic Meeting National and International Conference. (263 -272). 25 – 26 March, Suan sunandha rajabhat university, Thailand.-
dc.identifier.citationLawrence, M. J. & Rees, G. D. (2000). Microemulsion-based media as novel drug delivery systems. Advanced Drug Delivery Reviews. 45, 89-121.-
dc.identifier.citationOrafidiya, L. O., & Oladimeji, F. A. (2002). Determination of the required HLB values of some essential oils. International Journal of Pharmaceutics. 237, 241–249.-
dc.identifier.citationPaul, B. K. and Moulik, S. P. (1997). Microemulsion: an overview. Journal of Dispersion Science and Technology. 18 (4), 301-367.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/819-
dc.description.abstractMahajak oil is the seventy-eighth Thai medicinal formulary listed in the Narayana Pharmacopeia. However, the formulary is obsolete and has not been further developed since Ayutthaya period; therefore, this research aims to (1) develop the Mahajak oil as microemulsion-based preparation, which might help promote skin and membrane absorption; (2) prepare microemulsion-based formulations using pseudo-ternary phase diagram; (3) evaluate the effects of oil, surfactant, and water phase on the physicochemical properties of the formulations; (4) find translucent and miscible formulations; and (5) evaluate particle size distribution, physicochemical property, pH, and viscosity of each formulation. The results showed that formulations consisted of Mahajak oil mixed with peppermint oil, Tween 80, and deionized water at ratios of 6:1:3, 6:2:2, and 5:4:1 are translucent and miscible. The particle sizes of each selected microemulsion are 12.60 ± 0.00, 16.70 ± 0.20, and 19.90 ± 0.10 nm, respectively. Their viscosity and pH values are between 109.3-5149.43 cP and 6.02-6.39. These formulations are considered suitable for normal human skin. The developed microemulsion-based formulations have promising physicochemical properties and could be further developed as a new Mahajak oil formulary, which could have been more effective, more approachable, and more manageable.en_US
dc.description.abstractน้ำมันมหาจักรในตำราพระโอสถพระนารายณ์เป็นตำรับยาที่ใช้ภายนอก มีการรวบรวมบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ไม่ได้มีการพัฒนาตำรับยาให้มีประสิทธิภาพทั้งทางกายภาพและชีวภาพ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตำรับน้ำมัน มหาจักรในรูปแบบไมโครอิมัลชันซึ่งเป็นระบบนำส่งยาที่สามารถเพิ่มการดูดซึมของตัวยาผ่านผนังเมมเบรน และผิวหนังได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เตรียมตำรับไมโครอิมัลชันผสมน้ำมันมหาจักรจากการสร้างแผนภาพวัฏภาคไตรภาคเทียม ศึกษาผลของวัฎ ภาคน้ำมัน สารลดแรงตึงผิว และวัฏภาคน้ำ หาอัตราส่วนไมโครอิมัลชันที่มีความใสโปร่งแสง ไม่แยกชั้นบนพื้นที่แผนภาพวัฏ ภาคไตรภาคเทียม และวัดขนาดของอนุภาค รวมทั้งศึกษาทางกายภาพของตำรับโดยการวัดความเป็นกรด-ด่าง และความหนืด พบว่าสูตรตำรับไมโครอิมัลชันประกอบด้วยน้ำมันมหาจักรผสมน้ำมันเปปเปอร์มินต์ (1:1) : Tween 80 : น้ำ ในอัตราส่วน 6 : 1 : 3, 6 : 2 : 2 และ 5 : 4 : 1 มีลักษณะใส ไม่แยกชั้น มีปริมาณสารลดแรงตึงผิวค่อนข้างน้อย ขนาดของอนุภาคเป็นไมโครอิมัลชันมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.60 ± 0.00, 16.70 ± 0.20 และ19.90 ± 0.10 นาโนเมตร ตามลำดับ ความหนืดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 109.3 - 5149.43 cP และค่า pH เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 6.02 - 6.39 เหมาะสมกับสภาพผิวปกติ เป็นสูตรไมโครอิมัลชันที่คุณสมบัติดี สามารถพัฒนา เป็นตำรับไมโครอิมัลชันผสมน้ำมันมหาจักรรูปแบบใหม่ที่น่าใช้ มีประสิทธิภาพมาก พกพาได้สะดวกและเก็บรักษาตำรับยาง่าย-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectMahajak oilen_US
dc.subjectPeppermint oilen_US
dc.subjectMicroemulsionen_US
dc.titleDevelopment of Mahajak Oil as Microemulsion based Preparationen_US
dc.titleการพัฒนาตำรับยาน้ำมันมหาจักรในรูปแบบไมโครอิมัลชัน-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
1.pdf544.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.