Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสาททอง, เจษฎา-
dc.contributor.authorสิทธิชีวภาค, สุวิพล-
dc.contributor.authorแก้วภักดี, อดิศร-
dc.contributor.authorตั้งวชิรพันธุ์, เฉลิมชนม์-
dc.date.accessioned2019-02-20T04:07:17Z-
dc.date.available2019-02-20T04:07:17Z-
dc.date.issued2556-07-18-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/652-
dc.description.abstractบทความวิจัยฉบับนี้นำเสนอถึงการหาเทคนิคการกล้ำสัญญาณที่เหมาะสมสำหรับโครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะที่แบบ ไร้สาย (Wireless Local Area Networks) ในช่องสัญญาณมีการจางหายแบบเรลีย์โดยใช้แบบจำลองห่วงโซ่มาร์คอฟแบบไม่ ต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงสมรรถนะของโพรโทคอล CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance) ตามมาตราฐานของ IEEE802.11a ซึ่งเทคนิคการกล้ำสัญญาณที่เราพิจารณาในบทความวิจัยฉบับนี้คือ BPSK QPSK 16-QAM 64-QAM และ 256-QAM ซึ่งการเปรียบเทียบสมรรถนะของเทคนิคการกล้ำสัญญาณแต่ละแบบ เราจะใช้ค่าวิสัยสามารถ (Saturated throughput) ของระบบเป็นตัวชี้วัด จากผลการวิเคราะห์เชิงตัวเลขแสดงให้เห็นว่าเทคนิคการกล้ำสัญญาณแบบ BPSK และ QPSK มีสมรรถนะที่ดีกว่าเมื่อเทียบกับเทคนิคการกล้ำสัญญาณแบบ 16-QAM 64-QAM และ 256-QAM ใน ช่องสัญญาณมีการจางหายแบบเรลีย์ เมื่อเราพิจารณากรณีที่ค่าความเร็วในการส่งข้อมูล (Bit Rate) และค่ากำลังงานเฉลี่ยของ สัญญาณต่อค่ากำลังงานเฉลี่ยของสัญญาณรบกวนต่อบิท (Eb/No) ที่เท่ากันen_US
dc.subjectเทคนิคการกล้ำสัญญาณ โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะที่แบบไร้สาย แบบจำลองห่วงโซ่มาร์คอฟแบบไม่ต่อเนื่องen_US
dc.titleเทคนิคการกล้ำสัญญาณที่เหมาะสมสำหรับโครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะที่แบบไร้สาย ในช่องสัญญาณที่มีการจางหายแบบเรลีย์โดยใช้แบบจำลองห่วงโซ่มาร์คอฟแบบไม่ต่อเนื่อง An optimal modulation technique for Wireless Local Area Networks on One-Path Rayleigh fading channel By Using Discrete Markov Chain modelen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20190220110016.pdf463.91 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.