Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิ่นสุวรรณ, ทักษพร-
dc.contributor.authorศรีพันธ์ลม, ธันยนันท์-
dc.date.accessioned2019-02-15T04:45:03Z-
dc.date.available2019-02-15T04:45:03Z-
dc.date.issued2556-07-18-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/634-
dc.description.abstractจากการศึกษาการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากผิวมะกรูด และเหง้ากระชาย โดยวิธีการกลั่นด้วยไอน้ำ พบว่า ค่าร้อยละ ผลที่ได้ของมะกรูด และกระชาย เท่ากับ 0.899 และ0.106 ตามลำดับ สมบัติทางกายภาพของน้ำมันหอมระเหยที่ได้มีสีใสมี กลิ่นเฉพาะตัว รสเผ็ดเล็กน้อย ไม่พบตะกอนแขวนลอย และสามารถระเหยได้ดีที่อุณหภูมิห้อง ค่าการละลายในเอทานอลของ มะกรูดและกระชายเท่ากับ 2.66 และ 1.4 ตามลำดับ จากนั้นนำน้ำมันหอมระเหยมาศึกษาฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อ แบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichia coli โดยใช้วิธีการทดสอบค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการ เจริญเติบโตของเชื้อ(MIC) พบว่า น้ำมันหอมระเหยจากกระชายมีความสามารถในการยับยั้งเชื้อ S. aureus และ E. coli เท่ากับ 6.25 และ 1.56 mg/mL ตามลำดับ ส่วนน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูดมีความสามารถในการยับยั้งเชื้อ S. aureus และ E. coli เท่ากับ 25 และ 12.5 mg/mL ตามลำดับ น้ำมันหอมระเหยจากกระชายจึงมีความสามารถในการยับยั้งเชื้อ แบคทีเรียทั้งสองชนิดได้ดีกว่าน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูด แต่มีประสิทธิภาพน้อยกว่ายาปฏิชีวนะเตตราไซคลินen_US
dc.subjectมะกรูด กระชาย น้ำมันหอมระเหย เชื้ออิโคไล เชื้อสเต็บฟีโรคอกคัส ออเรียสen_US
dc.titleการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรเพื่อยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในอาหาร The Extraction of Essential oils in Herbs for Inhibit Food Pathogen Bacteriaen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20190215113750.pdf225.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.