Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/586
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโพธิ์วัฒนะชัย, นิชฌาน์-
dc.contributor.authorยอดสิน, นภาภรณ์-
dc.date.accessioned2019-02-12T09:51:50Z-
dc.date.available2019-02-12T09:51:50Z-
dc.date.issued2557-05-30-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/586-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนโมเดลซิปปาระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทำงาน ระหว่างก่อนเรียนกับหลัง เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปปา และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนโมเดลซิปปา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแพ้ววิทยา(ตี่ตง) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 37 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทำงาน และ 3) แบบ ประเมินความพึงพอใจ ที่สร้างโดยผู้วิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test) แบบ Dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปปาหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปาโดยรวมอยู่ในระดับมากen_US
dc.subjectการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนโมเดลซิปปาระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทำงาน ระหว่างก่อนเรียนกับหลัง เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปปา และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนโมเดลซิปปา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแพ้ววิทยา(ตี่ตง) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 37 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทำงาน และ 3) แบบ ประเมินความพึงพอใจ ที่สร้างโดยผู้วิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test) แบบ Dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปปาหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง อาหารประเภทสำรับ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนโมเดลซิปาโดยรวมอยู่ในระดับมากen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียบนเว็บตามแนวทฤษฎีสร้างองค์ความรู้โดยการ สร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองโพธาราม จังหวัดราชบุรี The Development of computer multimedia instruction on web based on constructionism to enchance creative thinking for prathomsueksa 6 students in schools under the Photharam Municipality, Ratchaburien_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20190212164339.pdf213.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.