Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแก้วแจ้ง, ศิริประภา-
dc.contributor.authorมัฆะเนมี, อุทุมมา-
dc.contributor.authorโกทันย์, สุชาติ-
dc.contributor.authorลิ้มกิจเจริญภรณ์, พฤฒิพล-
dc.contributor.authorแก้วขาว, จักรพงษ์-
dc.date.accessioned2018-12-12T03:36:29Z-
dc.date.available2018-12-12T03:36:29Z-
dc.date.issued2558-03-30-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/542-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือศึกษาขั้นตอนและคุณสมบัติของแก้วในสูตร (55-x)B2O3: 25Gd2O3: 10SiO2: 10CaO: xA2O3เมื่อ A2O3คือ Sm2O3และ Dy2O3โดยที่ x = 0.0, 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 ร้อยละโดยโมล ผลการศึกษา พบว่า เมื่อความเข้มข้นของซาแมเรียมและดิสโพรเซียมเพิ่มสูงขึ้นค่าความหนาแน่นจะเพิ่มขึ้น และจากการคำนวณด้วย โปรแกรม XCOM ที่ระดับพลังงาน 662 กิโลอิเล็คตรอนโวลต์ พบว่าอันตรกิริยาย่อยแบบโฟโตอิเล็กทริก การกระเจิงแบบ โคฮีเรนท์ และค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนเชิงมวลของแก้วมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของซาแมเรียมและดิสโพรเซียมเพิ่มขึ้น ในขณะที่การกระเจิงแบบคอมป์ตันจะลดลงเมื่อร้อยละของสารที่เติมเพิ่มสูงขึ้น จากการศึกษาพบว่าแก้วแกโดลิเนียมแคลเซียม ซิลิโกบอเรตที่เติมซาแมเรียมและดิสโพรเซียมมีความเป็นไปได้สูงที่จะพัฒนาเป็นวัสดุซินทิลเลเตอร์จากแก้ว เพื่อเพิ่มทางเลือก ของวัสดุซินทิลเลเตอร์ได้ในอนาคตen_US
dc.subjectซินทิลเลเตอร์en_US
dc.subjectซาแมเรียมen_US
dc.subjectดิสโพรเซียมen_US
dc.subjectอันตรกริยาen_US
dc.subjectสัมประสิทธิ์การลดทอนเชิงมวลen_US
dc.titleการเปรียบเทียบคุณสมบัติของแก้วซินทิลเลเตอร์ชนิดแกโดลิเนียมแคลเซียมซิลิโกบอเรต ที่เติมซาแมเรียมและดิสโพรเซียมen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ศิริประภา แก้วแจ้ง.pdf913.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.