Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลีละพัฒนา, ธีรศักดิ์-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:40:03Z-
dc.date.available2018-12-11T08:40:03Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/443-
dc.description.abstractการอายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ คือ การดำเนินการอย่างใด ๆ อันเป็นการห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน หรือสิทธิ เรียกร้องอย่างอื่นของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เพื่อประโยชน์ในการบังคับคดีตามคำพิพากษาของศาล โดยเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา สามารถดำเนินการอายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ได้หลายประเภท เช่น การอายัดสิทธิเรียกร้องเป็นเงินเดือน ค่าจ้าง เงินโบนัส เงินตอบแทนกรณีจำเลยออกจากงาน หรือเงินค่าล่วงเวลา ค่าเบี้ยขยัน ค่าครองชีพ หรือการอายัดสิทธิเรียกร้องเงินในบัญชีเงินฝาก หรือเงินปันผลสหกรณ์ ค่าหุ้น เป็นต้น แต่กระบวนการบังคับคดีในการอายัดทรัพย์สินนั้นมีอุปสรรคที่ทำให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ ในแต่ละครั้งน้อยกว่าที่ควรจะได้รับและล่าช้าออกไป เช่น การที่ลูกหนี้ขอลดการอายัด หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ไม่อยู่ในความ รับผิดแห่งการบังคับคดี หรือลูกหนี้เป็นข้าราชการ เจ้าหน้าที่ หรือลูกจ้างในหน่วยราชการ ตลอดจนการอายัดเงินในบัญชีเงินฝาก แต่เป็นบัญชีเงินเดือน จึงส่งผลให้ต้องมีการถอนการอายัดและเจ้าหนี้ไม่ได้รับชำระหนี้ จึงควรมีการปรับแก้แนวปฏิบัติให้มี ความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายen_US
dc.subjectการอายัดทรัพย์สิน การบังคับคดีen_US
dc.titleประสิทธิภาพการอายัดทรัพย์สินในการบังคับคดีแพ่ง The efficiency of sequestration toward court's judgement executionen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
91.ธีศักดิ์ ลีละพันา.pdf530.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.