Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรีปัญญา, วรินทร์-
dc.date.accessioned2018-12-11T03:00:37Z-
dc.date.available2018-12-11T03:00:37Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/309-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติและองค์ประกอบในตัวอย่างอิฐจากพื้นที่ในจังหวัดนครปฐมที่ใช้ ในการผลิตอิฐมอญศึกษาอันตรกริยาระหว่างรังสีแกมมากับอิฐมอญ และเปรียบเทียบค่าจากการทดลองและค่าจากทฤษฎีของ อิฐมอญที่ทำจากตัวอย่างดินโดยการสุ่มตัวอย่างดินจากพื้นที่ในจังหวัดนครปฐม 3 แห่งและนำดิที่ได้มาผสมกับขี้เถ้าแกลบและ ทราย ในอัตราส่วน 3:2:1 จากนั้น นำส่วนผสมที่ได้อัดบล็อก และตากให้แห้งแล้วนำไปเผาด้วยเตาไฟฟ้า ที่อุณหภูมิ 600 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 2 วันหาคุณสมบัติของอิฐมอญอัตรกริยาของอิฐมอญ โดยเครื่องสเปกโตรมิเตอร์รังสีแกมมาโดยใช้เทคนิค การกระเจิงคอมป์ตันในการเปลี่ยนพลังงาน จากนั้นหาค่าสัมประสิทธิ์ การลดทอนเชิงมวล (μm) จากการทดลองและจากทฤษฎี โดยโปรแกรม WinXcom ค่า Zeff และ ค่า Nel เพื่อหาคุณสมบัติการกำบังรังสีของอิฐมอญ จากการทดลองพบว่าดินที่มีคุณสมบัติในการกำบังรังสีดีที่สุดคือ ตัวอย่างที่ 3 รองมาคือ ตัวอย่างที่ 1 เนื่องจากตัวอย่าง ที่ 3 มีธาตุ Pb เป็นองค์ประกอบ0.210 % ตัวอย่างที่ 1 มีธาตุ Pb เป็นองค์ประกอบ 0.066 % ตัวอย่างที่ 2 ไม่มีมีธาตุ Pb เป็นองค์ประกอบen_US
dc.subjectดิน อิฐมอญ การกำบังรังสีen_US
dc.titleการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ของการตอบสนองทางสภาพต้านทาน แบบแมกนิโทเมตริกจากตัวกลางวิวิธพันธุ์ซึ่งอยู่ใต้พื้นผิวดินเอกพันธุ์ Mathematical Modelling of Magnetometric Resistivity Response from a Heterogeneous Medium beneath a Homogeneous Overburdenen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
33.วรินทร์ ศรีปัญญา.pdf707.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.