Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบำรุงเขต, ฑิฆัมภรณ์-
dc.contributor.authorศิริสุขโภคา, อุบลรัตน์-
dc.date.accessioned2018-12-07T08:05:37Z-
dc.date.available2018-12-07T08:05:37Z-
dc.date.issued2559-03-31-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/220-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การวัดความยาว เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยยึดรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย ซึ่งมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การวัดความยาว 2) หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชคณิตศาสตร์ ของนักเรียน ภายหลังได้รับการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3) หาความพึงพอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน โดยมี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดทะเลบก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.89/81.22 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์เรื่อง การวัดความยาว โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่าก่อนได้รับการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์ ภายหลังได้รับการเรียนด้วยบทเรียนอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.65en_US
dc.subjectบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนen_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์en_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การวัดความยาว เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยยึดรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ฑิฆัมภรณ์ บำรุงเขต.pdf813.07 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.