Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1243
Title: The Communication to Convey Wisdom Traditional Weaving of Ban Na Pa Nat Community, Chiang Khan District, Loei Province.
การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมือง ของชุมชนบ้านนาป่าหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
Authors: Robkob, Pacapon
Cheyjunya, Patchanee
ภคพล รอบคอบ
พัชนี เชยจรรยา
Keywords: Communication
Convey wisdom
Traditional weaving
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กมลรัฐ อินทรทัตน์. (2558). แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2556). แนวทางการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาเกษตรกร.
กาญจนา แก้วเทพ. (2543). สื่อเพื่อชุมชน : การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.
กาญจนา แก้วเทพ. (2551). "แนวทางหนึ่งของการศึกษาสื่อบุคคล : กรณีศึกษาโครงการร่วมกันปั้นแต่งนักสื่อสารสุขภาพ" ใน การจัดการความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสารชุมชน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ. (2553). การบริหารจัดการวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรมการวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ. (2558). แนวคิด ทฤษฎีและหลักการสื่อสารเพื่อการพัฒนา ใน ประมวลสาระชุดวิชาการสื่อสารเพื่อการ ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2560). การสื่อสารกับชุมชนศึกษา : : จากแนวคิดสู่การปฎิบัติ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิ ราช.
กำจร หลุยยะพงศ์ และคณะ. (2553). การบริหารจัดการสื่อวัตถุพื้นบ้านแบบมีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรมการวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กุลสิรา กฤตวรกาญจน์. (2551). การสื่อสารเพื่อการพัฒนากับการพัฒนา ชนบทไทย. วารสารการสื่อสารมวลชน, 1(2), 44- 68.
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2548). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (3 ed.). นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2540). วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงสังคม (4 ed.). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2547). วัฒนธรรมไทยกับการเปลี่ยนแปลงสังคม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นริศรา วัฒนสิน. (2557). การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษาการทอผ้าเกาะยอ จังหวัดสงขลา และการทอผ้านาหมื่น ศรี จังหวัดตรัง. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,
บุญเลิศ ศุภดิลก. (2558). แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประภากร แก้ววรรณา. (2552). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
เพียงดาว สภาทอง และคณะ. (2559). <แนวทางการสืบทอดวัฒนธรรมและอาชีพการทอผ้าทอไทยวนของศูนย์วิสาหกิจชุมชน ทอผ้าบ้านโนนกุ่ม อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา.pdf>. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 31(3), 77.
วัฒนะ จูฑะวิภาต. (2555). ผ้าทอกับชีวิตคนไทย. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต,
สามารถ จันทรสูรย์. (2536). ภูมิปัญญากับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป.
อรณิชา ทศตา และคณะ. (2560). การถ่ายทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านในการทอผ้าไหม อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ. Journal of Nakhonratchasima Collage, 11(1), 117.
อารีวรรณ หัสดิน. (2559). ภูมิปัญญาและการสืบทอดผ้าทอไทยพวนบ้านใหม่ จังหวัดนครนายก. กระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี, 73.
Abstract: This research aimed to study the communication to convey wisdom traditional weaving of Ban Na Pa Nat Community Village, Moo.12, Chiang Khan District, Loei Province. The study of qualitative research methods consisted of in-depth interviews, Focus group discussion, and Non-participatory observation. The above method is used to collect primary data, which is field data collection. The key informants consisted of weavers, the elderly and adult groups, as well as including new generation in the community. The research study has found that (1) The Sender found that communication for the transfer of local weaving wisdom by using word of mouth with the demonstration and action and knowledge is transferred through folk performances. (2) The content found that the substance content emphasizes on observing actions by showing or acting on your own (3) The Communication Channel found that communication channels focus on personal communication, word of mouth communication, and communication through Public Address System in Community. Communication through line applications and Communication through conference for carrying out activities. (4) The Receiver found that recipients in the community receive messages from wisdom teachers, community sages, community leaders, and word-of-mouth community members by conserving their traditional way of life, culture, and persuading children to learn traditional way of life to integrate into the modern era.
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมืองของชุมชนบ้านนาป่า หนาดหมู่ 12 อำเภอเชียงคานจังหวัดเลย ศึกษาด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งประกอบด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดการ สนทนากลุ่ม รวมถึงการสังเกตุการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ด้วยวิธีการดังกล่าวนำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซึ่งเป็นการเก็บ ข้อมูลภาคสนาม โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ช่างทอผ้า กลุ่มผู้สูงวัยและกลุ่มผู้ใหญ่ รวมถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ในชุมชน ผลการศึกษาพบว่า (1)ด้านผู้ส่งสาร พบว่า การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมืองใช้การบอกเล่า แบบปากต่อปากร่วมกับการสาธิตและการลงมือทำให้ดู และมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาผ่านการแสดงพื้นบ้าน (2)ด้านเนื้อหาสาร พบว่า เนื้อหารสารเน้นการให้สังเกตุการณ์กระทำ การทำให้เห็นหรือการลงมือทำด้วยตนเอง (3)ด้านช่องทางการสื่อสาร พบว่า ช่องทางการสื่อสารเน้นไปที่การสื่อสารผ่านตัวบุคคล การสื่อสารแบบปากต่อปาก และการสื่อสารผ่านเสียงตามสายภายใน ชุมชน การสื่อสารผ่านไลน์แอพพลิเคชั่น และการสื่อสารผ่านการจัดการประชุมเพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ (4)ด้านผู้รับสาร พบว่า ผู้รับสารในชุมชนรับสารจากครูภูมิปัญญา ปราชญ์ชุมชน ผู้นำชุมชนและการบอกต่อจากสมาชิกในชุมชน โดยร่วมกัน อนุรักษ์วิถีชีวิตและวัฒนธรรมดั่งเดิมให้อยู่ภายในชุมชนและยังโน้มน้าวลูกหลานร่วมกันเรียนรู้วิถีชีวิตดั่งเดิมให้ผสมกลมกลืน กับยุคสมัย
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1243
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.