Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSamakul, Nantanaporn-
dc.contributor.authorSilanookit, Chonmanee-
dc.contributor.authorนันทนาพร สมากุล-
dc.contributor.authorชนมณี ศิลานุกิจ-
dc.date.accessioned2021-05-24T05:14:01Z-
dc.date.available2021-05-24T05:14:01Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationต้องตา กวดนอก. (2556). การศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในกลุ่มเขตพื้นที่กรุงเทพฯ กลาง สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหาร การศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.-
dc.identifier.citationธีระรัตน์ คันธิวงศ์. (2560). การศึกษาการบริหารงานการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู วิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.-
dc.identifier.citationปัทมพร พงษ์เพชร. (2561). ทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). ฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.-
dc.identifier.citationวิมล เดชะ. (2559). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนดีประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การศึกษาประถมศึกษาสตูล. สารนิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย หาดใหญ่.-
dc.identifier.citationสริศา ตาใส่. (2557). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาของกลุ่มโรงเรียนแม่จริม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 1. การค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationสายนภา ดาวแสง. (2559). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนสังกัดสำนัก การศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา).ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2554). แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การบริหาร วิชาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.-
dc.identifier.citationสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล.(2562). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน( O-NET) ประจำปี การศึกษา 2561. กรุงเทพฯ : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล.-
dc.identifier.citationหทัย ศิริพิน. (2558). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโรงเรียนบ้านกระทุ่มล้ม(นครราษฎร์ประสิทธิ์). การ ค้นคว้าอิสระ. ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). นครปฐม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationLouis Cohen, Lawrence Manion, and Keith Morrison. (2011). Research methods in education. (7th ed.). New York : Routledge.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1235-
dc.description.abstractThe aim this research here is to study and compare satisfaction of teacher academic management of cluster 50, under office Klongsamwa District, Bangkok Metropolitan Administration categorized by their education background and their working experience. The sample consisted of 151 teachers during academic year of 2019. The proper size of the sample was determined using the Cohen table the stratified model by using the school as a class and comparing. The research instrument was five - rating scale questionnaire. It was determined that the content validity of the items of objective congruence in the range between 0.60 - 1.00 and the Cronbach’s alpha coefficient showing a level of reliability at 0.958 The data collected were analyzed using the descriptive statistic, t-test and One Way Analysis of Variance.The research results were elaborated that 1) teacher opinions toward academic administration a case study were performed at a high level 2) the comparison of teacher’s opinions are devided by their education background was not significant differentes and teacher participation, classified by working experience was differents except budget management and general administration were not different.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาเครือข่ายที่ 50 สำนักงานเขตคลองสามวา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ครูในสถานศึกษาเครือข่ายที่ 50 สำนักงานเขตคลองสามวา สังกัด กรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 151 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นโดยใช้โรงเรียนเป็นชั้น แล้วเทียบบัญญัติไตรยางศ์เพื่อกำหนดจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ หาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.60 -1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .958 สถิติที่ใช้ใน การวิจัยได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาเครือข่ายที่ 50 สำนักงานเขตคลองสามวา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา และด้าน การนิเทศการศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยลำดับสุดท้าย คือ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 2) ครูที่มีระดับการศึกษาและมี ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายที่ 50 สำนักงานเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและ รายด้านไม่แตกต่าง-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectSatisfactionen_US
dc.subjectAcademic Managementen_US
dc.subjectAdministratoren_US
dc.titleThe Satisfaction of Teachers on Administrator’s Academic Management of Cluster 50, under office Klongsamwa district, Bangkok Metropolitan Administration.en_US
dc.titleความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาเครือข่ายที่ 50 สำนักงานเขตคลองสามวา สังกัดกรุงเทพมหานคร-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.