Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChoochart, Patsara-
dc.contributor.authorEschstruth, Ian-
dc.contributor.authorPathanasin, Saranya-
dc.contributor.authorภัสสรา ชูชาติ-
dc.contributor.authorเอียน แอชทรุท-
dc.contributor.authorสรัญญา พัฒนสิน-
dc.date.accessioned2021-05-24T02:46:11Z-
dc.date.available2021-05-24T02:46:11Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationเฉลิมรัช จันทรานี. (2562). สรุปสาระสำคัญจากโครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “(พ.ร.บ.) คู่ชีวิตมีสิทธิแค่ไหน?”. ค้นเมื่อ 9 เมษายน 2563 จาก http://www.law.tu.ac.th/summary_seminar_civil_partnership_bill/-
dc.identifier.citationชวินโรจน์ ธีรพัชรพร และ ภาณุมาศ ขัดเงางาม. (2560). สิทธิความเสมอภาคในการสมรสของบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22 (2), 92-104.-
dc.identifier.citationดารณี พานทอง. (2542). ทฤษฎีจูงใจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationนิด้าโพล. (2560). สังคมคิดอย่างไรกับเพศที่ 3. ค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2563 จาก http://nidapoll.nida.ac.th/index.php?op=polls-detail&id=317-
dc.identifier.citationบีบีซี (2562). LGBT:สภาไต้หวันผ่านกฎหมายแต่งงานเพศเดียวกันครั้งแรกในเอเชีย. ค้นเมื่อ 8 มกราคม 2563 จาก https://www.bbc.com/thai/international-48307052-
dc.identifier.citationศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2545). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.-
dc.identifier.citationอรรถมานะ สร้อยตระกูล. (2541). พฤติกรรมองค์การ: ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationCrossman, A. (2020). Understanding Functionalist Theory. Retrieved 11 December 2019 from https://www.thoughtco.com/theoretical-perspectives-3026716.-
dc.identifier.citationMeesidhi, A.M. (2019). A Case Study Approach: An Analysis of the Application of Same-Sex Marriage Law of the United States of America into Thai Law. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 12 (1), 135-146.-
dc.identifier.citationPanich, B. and Chaiumporn, S. (2018). Forms and Procedures Driven Bill of Same-Sex Marriage in Thailand. Journal of US-China Public Administration, 15 (3), 134-141.-
dc.identifier.citationPongpaijit, P. (2002). How to flight: Contemporary people’s movement. Bangkok: Taswin sinwarmbook.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1225-
dc.description.abstractMany countries do have same-sex marriage laws to promote the equality of LGBT groups. However, despite several attempts, Thailand has not enacted any such laws. This survey was conducted to hear the voices of the European LGBT community who live in Thailand towards same-sex marriage law in the country. Clearly, they are stakeholders if these laws are enacted. An online questionnaire was chosen as the method to gather information because it protected the anonymity of the respondent’s identity. Results from 103 respondents showed that most agreed that Thailand should allow same-sex marriage even if they had no plans to marry their same-sex partners in the country. Respondents said that being LGBT, they faced an inequality in terms of social acceptance. Whilst, they did not think that their basic rights were infringed upon, most respondents agreed that if Thailand allowed same-sex marriage, it would promote equality in Thai society for LGBT people.en_US
dc.description.abstractหลายประเทศทั่วโลกมีกฎหมายที่อนุญาติให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้ เพื่อความเสมอภาคของกลุ่มบุคคลรักร่วม เพศ (LGBT) ถึงแม้จะมีความพยายามเรียกร้องจากกลุ่มคนในสังคมบ้างแล้วก็ตาม แต่ประเทศไทยยังไม่เคยมีกฎหมายนี้ งานวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อสำรวจทัศนคติของชาวยุโรปที่มีความหลากหลายทางเพศที่พำนักอยู่ในประเทศไทย ต่อกฎหมายสมรส ระหว่างเพศเดียวกัน อันเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการออกกฎหมายนี้ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามออนไลน์ เพื่อเก็บข้อมูล เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถปกปิดตัวตนของผู้ตอบแบบสอบถามได้ดี มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 103 คน ผล การสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าประเทศไทยควรจะมีการออกกฎหมายอนุญาติให้มีการสมรส ระหว่างเพศเดียวกันได้ ถึงแม้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากไม่ได้ประสงค์จะสมรสกับคู่รักของตนในประเทศไทยก็ตาม ผู้ตอบ แบบสอบถามให้ความเห็นว่าการเป็นเพศทางเลือกนั้นไม่ได้รับการยอมรับอย่างเท่าเทียมกันในสังคม แต่ไม่รู้สึกว่าถูกริดรอน สิทธิที่ตนเองพึงมีพึงได้ ดังนั้นการออกกฎหมายสมรสเพศเดียวกันจะทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคมและช่วยให้กลุ่มคน เพศทางเลือกได้รับการยอมรับมากขึ้น-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectSame sax marriageen_US
dc.subjectThailanden_US
dc.subjectEuropean peopleen_US
dc.subjectLGBTen_US
dc.titleA survey of the views of the European LGBT community living in Thailand towards same-sex marriage law in Thailanden_US
dc.titleการสำรวจทัศนคติของชาวยุโรปที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่พำนักอยู่ในประเทศไทย ต่อ กฎหมายสมรสระหว่างเพศเดียวกันในประเทศไทย-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.