Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1224
Title: Teacher’s Opinions About Environmental Management of 32th Network School Administrators Prawet District Office, Bangkok
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงานเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
Authors: Malila, Chinnavorn
Tharasrisutti, Pavida
ชินวร มะลิลา
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: Teacher’s Opinions Environmental Management The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กังวาน ไตรสกุล, วิชัย รัตนากีรณวร และนงนภัสส์ มากชูชิต. (2558). การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียน พะตงประธานคีรีวัฒน์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 จังหวัดสงขลา-สตูล. วารสารวิจัย บัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
จุฑามาส ซุ่นห้วน. (2562). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ณิศศา ณภาส์ณัฐ. (2558). สภาพแวดล้อมสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองกาญจนบุรี. การค้นคว้าอิสระ, มหาวิทยาลัยราช ภัฏกาญจนบุรี.
นารินทร์ ดาวไธสง. (2560). ความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนในสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 2 อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วันที่ค้นข้อมูล 24 เมษายน 2563, จากเวบไซต์: file:///C:/Users/USER/Downloads/2560-2- 1_1510631139_is-bkk7-sec4-0027%20(1).pdf
ประวีณา โภควณิช. (2559). แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาเรียนรวม ระดับ ประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ปิยะวรรณ ยี่สารพัฒน์. (2560). สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กเขตคุณภาพที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิชญ์สุดา เกณเชี่ยวชาญ. (2561). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านหนองซากแง้ว สังกัดเทศบาล ตำบลห้วยใหญ่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2556). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ.
รัตนา กาญจนพันธุ์. (2557). การบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: มิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ.
วัชรศักดิ์ วุฒิวิชญานันต์. (2559). ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 1 (สถาวร) สังกัดเทศบาลเมืองบ้านบึง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
วันวิสา นาโสม. (2560). การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของนักเรียน ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศุภลักษณ์ แย้มเสมอ. (2560). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายที่ 76 สำนักงาน เขตบางบอน สังกัด กรุงเทพมหานคร. การศึกษาอิสระ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุภาวดี ทองสำฤทธิ์. (2561). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education (7th ed.). New York: Routledge.
Abstract: This research aims to study and compare Teacher’s Opinions About Environmental Management of 32th Network School Administrators Prawet District Office, Bangkok. By qualification and operational experience. sample size of 151. then use the random stratified method. The instrument used in the research was a questionnaire for Teachers' Opinions About Environmental Management of 32th Network School Administrators. Prawet District Office, Bangkok. The research found that 1) Teachers have opinions on the environment of the academy administrators. The 32nd School Group, Prawet District Office, Bangkok in overall and the side is high level. 2) Teachers with different qualifications have opinions on the environment of the academy administrators. The 32nd School Group, Prawet District Office, Bangkok as a whole and the side is not different. 3) Teachers with different operational experience have opinions on the environment of the academy administrators. The 32nd School Group, Prawet District Office, Bangkok in overall and the side is not different.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหาร สถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงานเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร โดยจำแนก ตามวุฒิการศึกษาและ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 151 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงาน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงานเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มี วุฒิการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงาน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 32 สำนักงานเขตประเว ศ กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1224
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.