Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1222
Title: The Satisfaction of Teachers with an Environment That is Conducive to Learning in Secondary School Bangkapi District Under the Secondary Educational Service Area Office 2, Bangkok.
ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โรงเรียนมัธยมศึกษา เขตบางกะปิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร
Authors: Sirisawat, Sineenad
Karnjanapan, Ratana
สินีนาฎ ศิริสวัสดิ์
รัตนา กาญจนพันธุ์
Keywords: Satisfaction
Teachers
Providing an environment that is conducive to learning
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาพลาดพร้าว.
เด่นชัย วงษ์ช่าง (2556). สภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนมาบตาพุด พันพิทยาคาร เขตนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะ ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฉัตรชัย ศรีสุข. (2554). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1 – 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 3. ภาคนิพนธ์ครูศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบรหิ าร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ทรรศนีย์ วราห์คำ. (2554). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม. สังกัด สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ค.ม.(บริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
นฤมล ก้อนขาว. (2558). การศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนศรัทธาสมุทร สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิต วิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา.
นันทวัน มุสิกบุตร. (2553). ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของโรงเรียนสว่างบริบูรณ์ วิทยา จังหวัดชลบุรี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การบริหารการศึกษา). ชลบุรี:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ถ่ายเอกสาร.
พระอโนชา สิมพา. (2553). ทัศนะของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยมหามงกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ:บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
Abstract: This survey research aims were to study the satisfaction of teachers in organizing an environment conducive to learning in secondary schools in Bangkapi District Under the Secondary Educational Service Area Office 2. The sample groups were selected from 353 parents of secondary schools, Bangkapi District Under the Secondary Educational Service Area Office 2. The sample group consisted of 185 people from Krejcie & Morgan table. The research instruments were the 5 rating scale questionnaire, the questionnaire was tested for content validity by the index of congruence (IOC), It was between 0.6 and 1.0, and Cronbach’s α (alpha) coefficient was at 0.913. The statistics used for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t–test and One-way ANOVA. When differences between groups were found, Scheffé’s multiple comparison was additionally utilized by the researcher. Findings are as follows: The results of the research revealed that 1) The satisfaction of teachers in organizing an environment conducive to learning in secondary schools in Bangkapi District Under the Secondary Educational Service Area Office 2, Bangkok. was overall at a high level and high level for all aspect. 2) The teachers who differed ages have the satisfaction with the organization of environment that was conducive to learning in secondary schools in Bangkapi District Under the Secondary Educational Service Area Office 2. Bangkok. That both of the overall and the aspect were not different. 3) The teachers who differed with work experience had the satisfaction with the organization of environment that was conducive to learning in secondary schools, in Bangkapi Under the Secondary Educational Service Area Office 2, Bangkok. that both of the overall and the aspect are not different.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้โรงเรียนมัธยมศึกษาเขตบางกะปิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โรงเรียนมัธยมศึกษาเขตบางกะปิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุและประสบการณ์การทำงาน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 353 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของเครอซี่และมอร์แกน ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 185 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.913 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบด้วยค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงทำการทดสอบรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก (2) ครูที่มีอายุต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน (3) ครูที่มีประสบการณ์การทำงาน มีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1222
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.