Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1221
Title: Study of status, problems, and needs of computing science learning management
การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
Authors: Yasaka, Surakiart
Suksakulchai, Surachai
สุรเกียรติ์ ยะสะกะ
สุรชัย สุขสกุลชัย
Keywords: Computing Science
Learning Management
Needs
Problems
Status
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ขัณธ์ชัย อธิเกียรติ. (2560). การสอนแบบทันสมัยและเทคนิควิธีสอนแนวใหม่. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก http://regis.skru.ac.th/RegisWeb/webpage/addnews/data/2017-07-24_078.pdf
จักรแก้ว นามเมือง. (2560). การสอนกับทฤษฎี ๓ อ. Teaching with three อ. theories. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/download/141724/105012/
นิทัศน์ ศรีเทียมศักดิ์. (2556). การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก https://www.kroobannok.com/news_file/p74153241236.pdf
พงศ์ธนัช แซ่จู. (2562). เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4: หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์. JOURNAL OF EDUCATION KHON KAEN UNIVERSITY, 41(4), 117-119.
ภูมิปรินทร์ มะโน. (2562). สอน CODING อย่างไรให้ง่าย สนุกเหมือนสนามเด็กเล่น. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก https://thepotential.org/2019/10/08/coding-from-coder-poomparin/
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรสาระเทคโนโลยี (วิท ยาก ารค ำน วณ ) ก ลุ่ม ส าระก ารเรีย น รู้วิท ยาศ าส ตร์. ค้น เมื่อ12 พ ฤศ จิก ายน 2562 จาก http://oho.ipst.ac.th/?ddownload=3549
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). สพฐ. จับมือ สสวท. อบรมครูออนไลน์วิทยาการคำนวณ Coding for Teacher (C4T) เร่งขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้โค้ดดิ้งในโรงเรียน. ค้นเมื่อ 30 เมษายน 2563 จาก https://teacherpd.ipst.ac.th/2020/04/30/อมรมครูออนไลน์วิทยาการ/
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม. ค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2562 จาก https://www.onde.go.th/assets/portals/1/files/620425-Government%20Gazette.PDF
สำนักวิชาการและประมวลผล มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. (2556). คู่มือกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ (พ.ศ. ๒๕๕๖). ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก https://academic.reru.ac.th/download/2557คู่มือ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.pdf
สุริยา ฆ้องเสนาะ. (2558). ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2563 จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2558/hi2558-106.pdf
Chin, K.-Y., Hong, Z.-W., & Chen, Y.-L. (2014). Impact of using an educational robot-based learning system on students’ motivation in elementary education. IEEE Transactions on learning technologies, 7(4), 333-345.
Fehr, A. E., Pentz, R. D., & Dickert, N. W. (2015). Learning from experience: a systematic review of community consultation acceptance data. Ann Emerg Med, 65(2), 162-171 e163. doi:10.1016/j.annemergmed.2014.06.023
Abstract: The purpose of this research was to study the current status, problems, and needs in the management of Computing Science learning for students and teachers in small-size schools. The sample group was students and teachers in the Third School District, Phra Nakhon Si Ayutthaya province, consisting of 115 10th-grade students and 8 teachers. The sample size of the students obtained was based on Crazy and Morgan's table by using the quota sample group and the sample group of the teacher was selected by using a purposive sampling technique. The questionnaire was used for data collection. The results showed that students and teachers have the same overall view on the status at high levels, problems at medium levels, and expectations at high levels. When consideration in each aspect, it was found that activities can create collaborative learning and stimulate students’ interest. Moreover, activities should respond to the students’ differences. Coding is the most problematic issue in their study. Teachers most wanted is training in subjects related to Computing Science and good teaching materials. While students needed learning materials related to Computing Science for selfstudy and as a source of information.
การวิจัยจึงนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ของนักเรียนและครูในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนและครูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 8 โรงเรียน โดยแบ่งเป็นนักเรียนจำนวน 115 คน และครู จำนวน 8 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนได้มาโดยการเทียบเกณฑ์ตามตารางของเครซี่และมอร์แกน เลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบโควต้า และกลุ่มตัวอย่างของครูได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสอบถามที่เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่านักเรียนและครูมีความคิดเห็นของภาพรวมในทิศทางเดียวกันทั้ง 3 ด้าน โดยมีสภาพปัจจุบันอยู่ใน ระดับมาก สภาพปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่ากิจกรรมต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียน นอกจากนั้นกิจกรรมที่เลือกควรตอบสนองต่อ ความแตกต่างของนักเรียน การเขียนโปรแกรมด้วยวิธีปกติ เป็นเรื่องที่มีปัญหามากที่สุดของการเรียน สิ่งที่ครูต้องการมากที่สุด คือการอบรมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการคำนวณและต้องการอุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอนที่ดี ในขณะที่นักเรียนมี ความต้องการสื่อการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการคำนวณเพื่อให้ศึกษาด้วยตนเองและเป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1221
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.