Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1210
Title: Satisfaction of Teachers to Implementation of Educational Information Technology in Large Primary Schools, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1
ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
Authors: Maitip, Arunee
Thongprong, Amnuay
อรุณี ไหมทิพย์
อำนวย ทองโปร่ง
Keywords: Satisfaction of Teacher
Implementation of Educational Information Technology
Large Primary Schools
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จินตนา ใจมนต์. (2555). ความพึงพอใจของครูในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ กลุ่มโรงเรียนน้ำตก ห้วยจันทน์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
เฉลียว คนไว. (2557). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการสอนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ณัฐวดี ศิลปะศักดิขจร. (2557). การศึกษาสภาพการใช้ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ภายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิยม พานิชกุล. (2556). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนสังกัด เทศบาลเมืองจันทบุรี. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
บุญรัตน์ พิมขาลี. (2556). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 (เชียงราย-พะเยา). วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมวิชาการ.
พลวัตร จันทรา. (2556). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครอุดรธานี. การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภาสกร เรืองรอง. (2557). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 5 (ฉบับพิเศษ) (พฤษภาคม, 2557).
รุจิรา บุรี. (2558). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนสันติสุข อำเภอ สันติสุข จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ลัดดาวัลย์ ใจไว. (2558). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารจัดการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนศรีราชา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. งานนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
วรรณพล เหมือนพันธุ์. (2556). ความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครูอำเภอบ้านแท่น สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2.การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วรพงษ์ วรภู. (2553). ปัญหาและความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
ศิรินทร์ทิพย์ ชาลีวรรณ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารด้านการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศกับ สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สันติ หอมทวีโชค. (2554). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สิทธิขนิษฐ์ อาจหาญ. (2554). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สุธานิธิ์ นุกูลอึ้งอารี. (2555). การศึกษาความพึงพอใจในงานของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) กรณีพนักงาน บริษัทการบินไทยฯสำนักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สุวิสาข์ เหล่าเกิด. (2555). เทคโนโลยีการศึกษา ความสำคัญ แนวโน้ม และพัฒนาการ. ค้นเมื่อ 30 มกราคม 2555, จาก http://www.suwisanae.files.wordpress.com.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. นนทบุรี : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1.
Cohen, Louis. Lawrence Manion.& Keith Marrison. (2011). Research Methods in Education. 7th Edition Routledge USA.
Abstract: This research has the following objectives: study and compare satisfaction of teachers to implementation of educational information technology in large primary schools, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 by educational level and work experience, a total of 277 people by using the table to determine the size of the sample of Cohen & others, a total of 168 people. The instrument used in this research was a questionnaire with a reliability of .968. The statistics used in The research was frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The results showed that 1) Satisfaction of teachers to implementation of educational information technology in large primary schools as a whole and as individual aspects was at the high level. 2) Teachers with different educational levels. There was no difference in satisfaction of teachers to implementation of educational information technology in large primary schools as a whole. Except for media-device development were significantly different at .05 level. 3) Teachers with different work experience levels. There was no difference in satisfaction of teachers to implementation of educational information technology in large primary schools as a whole. Except for teaching and learning management were significantly different at .05 level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จำแนกตามระดับ การศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ประชากร 277 คน โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของโคเฮนและคณะ กลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 168 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .968 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One -way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาด ใหญ่ โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการพัฒนาสื่ออุปกรณ์ แตกต่างกันอย่าง นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการจัดการเรียนการสอน แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1210
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.