Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1187
Title: A study of the recruitment and selection of personnel in sugar industry in Ratchaburi Province
การศึกษาการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรของอุตสาหกรรมน้ำตาลแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี
Authors: Thongsukmak, Nattakan
Phetpom, Toemsup
Srichompu, Jutamat
Arpornpisal, Chanapong
นัฐกานต์ ทองสุขมาก
เติมทรัพย์ เพชรป้อม
จุฑามาส ศรีชมภู
ชนพงษ์ อาภรณ์พิศาล
Keywords: Recruitment
Selection
Sugar industry
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ฉัตรวีณา เอื้อแท้. (2559). ศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเชิงรุกระหว่างภาคราชการกับ ภาคเอกชน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ทวีศักดิ์ รูปสิงห์. (2562). การวิเคราะห์งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตำราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
บวรนันท์ ทองกัลยา. (2559). มิตรผล เผย 10 วิธีมัดใจบุคลากรในยุคขาดแคลนแรงงาน พร้อมทักษะการทำงานต้องมีใน อนาคต. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2563 จาก https://www.mitrphol.com/knowledge_detail.php?topic=10
ปิยาพร ห้องแซง. (2555). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานสาขาธนาคารออมสิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พนิดา บุญธรรม. (2559). การจัดการทรัพยากรมนุษย์และความสมดุลชีวิตกับงานที่มีความสัมพันธ์ต่อความผูกพัน ในองค์กร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
พัชราภา โพธิ์อ่อง. (2561). เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital HR) กับการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาบุคลากรในองค์กรธุรกิจค้า ปลีก. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พิภพ สุวรรณรักษ์. (2546). การสรรหาและบรรจุพนักงาน. นครปฐม: สถาบันราชภัฏนครปฐม.
วิภาพร อุปถัมชาติ. (2558). ความพึงพอใจของพนักงานต่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจครอบครัว ขนาดใหญ่: กรณีศึกษาบริษัทผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องดื่ม. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สารีพะห์ แวหามะ. (2559). กระบวนการสรรหาและคัดเลือกพนักงานขององค์การ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุภาพร พิศาลบุตร. (2546). การสรรหาและบรรจุพนักงาน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
สมคิด บางโม. (2556). องค์การและการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเพทฯ: วิทยพัฒน์.
อัจฉริยา ชื่นเจริญวงศ์. (2555). กระบวนการสรรหาและเลือกสรรครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Noe, R.A., et al. (2015). Human resource Management. (9th ed.) New York, NY: McGraw-Hill Education.
Mondy, R.W. (2008). Human resource Management. (10th ed.) New Jersey: Person Education.
Abstract: The purpose of this research were: 1. To study the recruitment and selection of sugar industry in Ratchaburi Province 2. To compare the personal factors with the recruitment and selection of sugar industry in Ratchaburi Province. This study was a quantitative research. the tools used in this research were questionnaires. Quantitative data analysis were used Statistics, frequency, percentage, mean, t-test, one-way analysis of variance and least significant difference analysis. The results found that the recruitment was at high level. xˉ = 4.27 (S.D.= 0.32), The selection was at high level. xˉ = 4.28 (S.D.= 0.31) and the compare results of gender, education level and work experience had difference level of the recruitment and selection of personnel with statistically significant at 0.05 and age had difference level of the recruitment and selection of personnel with statistically significant at 0.05 except for selection.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรของอุตสาหกรรมน้ำตาลแห่งหนึ่งในจังหวัด ราชบุรี และ 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรของอุตสาหกรรมน้ำตาลแห่งหนึ่งใน จังหวัดราชบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรใน อุตสาหกรรมน้ำตาลแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี จำนวน 197 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว การวิเคราะห์ความแตกต่าง เป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 (S.D.= 0.32) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.28 (S.D.= 0.31) และการเปรียบเทียบ พบว่า เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานที่แตกต่างกัน มีความ คิดเห็นเกี่ยวกับการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และอายุแตกต่างกัน มี ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านการคัดเลือก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1187
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.