Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1182
Title: Science Learning in the 21st Century for Problem-Solving Ability by Using Project together with Research-Based Learning
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา โดยใช้โครงงานร่วมกับวิจัยเป็นฐาน
Authors: Kiatphotha, Chommanat
Niyomsap, Nannabhat
ชมมนัส เกียรติโพธา
นันท์นภัส นิยมทรัพย์
Keywords: Project - based learning
Research - based learning
Problem – solving ability
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
จินตนา ศิริธัญญารัตน์ และวัชรา เล่าเรียนดี. (2562). การออกแบบระบบการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 22). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิตยา ช้างหัวหน้า. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร.
เนตรนพิศ คตจำปา, มารศรี กลางประพันธ์ และสมเกียรติ พละจิตต์. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ปฏิบัติการโดยใช้โครงงานเป็นฐานที่ส่งผลต่อความสามารถในการคิดเชิงมโนทัศน์ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 12 (59), 63-75.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, (2556). การพัฒนาการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง.
ปิยะดา อาชายุทธการ. (2560). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่กลีเซอรีนมะม่วงหาวมะนาวโห่. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2559). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2550). อาจารย์มืออาชีพ แนวคิด เครื่องมือ และการพัฒนา. กรุงเทพฯ: เครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพ อาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2549). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครปฐม: โครงการส่งเสริมการ ผลิตตำราและเอกสารการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรา เล่าเรียนดี, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง และอรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2560). กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาการคิดและ ยกระดับคุณภาพการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 12). นครปฐม: เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป.
วัฒนา มัคคสมัน. (2554). การสอนแบบโครงการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัฒนา รัตนพรหม. (2560). ถอดรหัสการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานฐานวิจัย (Research - Based Learning). สงขลา : นำศิลป์โฆษณา.
_______.(2561). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานฐานวิจัย. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 5(2), 37-60.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2562). โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ไอเอ็ดพับสิชซึ่ง.
สุคนธ์ สินธพานนท์, วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์ และพรรณี สินธพานนท์. (2555). พัฒนาทักษะการคิดตามแนวปฏิรูป การศึกษา. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของผู้สอนยุคใหม่ เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2555). โครงงานฐานวิจัย: กระบวนการเรียนรู้ใหม่ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
อุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์. (2555). ทักษะความคิด: พัฒนาอย่างไร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อินทร์ณน.
อมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์. (2560). หลักการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Chiang, C. L. & Lee, H. (2016). The Effect of Project-Based Learning on Learning Motivation and Problem- Solving Ability of Vocational High School Students. International Journal of Information and Education Technology, 6(9), 709-712.
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill Book Company.
Guilford, J. P. (1967). The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw – Hill.
Jawhara, T. (1995). Problem solving and creative thinking in education. New York: Oxford University Press language.
Jonassen, D. (2003). Learning to solve problems: an instructional design guide. San Francisco: Willey and Sons, Inc..
Sanit, S., Tassanee, B., Jakkrit, S. & Jintanaporn W. (2014). Research Synthesis of Research-Based Learning for Education in Thailand. Social and Behavioral Sciences, 116, 913 – 917.
Weir, J. J. (1974). Problem solving is everybody’s Problem Science Teacher. 3(1), 16-18.
Wiersma, W. (1986). Research Methods in Education: an Introduction. (4th ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Abstract: This article presents guidelines for making a correctly-formatted manuscript for submitting to the 12th NPRU National Conference. Authors are encouraged to start their writing by replacing the text in this electronic document. It is compulsory to follow the guidelines provided here strictly. The manuscript that is not in the correct format will be returned and the corresponding authors may have to resubmit. Abstract should be between 150 and 300 words. It should be provide a concise summary of the key points of your paper. The whole abstract must be within one A4 page.
ในศตวรรษที่ 21 เป็นโลกของเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงการเป็นสังคมความรู้ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในด้านข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสาร มีปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายในชีวิตประจำวัน โลกยุคใหม่ต้องการคนที่ พร้อมจะเรียนรู้และรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นมนุษย์ทุกคนจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ และพัฒนา ความสามารถในการแก้ปัญหา การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์มีส่วนช่วยในการส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา บทความนี้ นำเสนอการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานร่วมกับวิจัยเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา โดย สังเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นกำหนดปัญหา 2) ขั้นศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3) ขั้นเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 4) ขั้นลงมือทำโครงงาน 5) ขั้นคิดทบทวน 6) ขั้นนำเสนอ บทความนี้มุ่งนำเสนอ แนวคิดและการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พร้อมเสนอแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานร่วมกับวิจัยเป็นฐานเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1182
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.