Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorJansomboon, Manoon-
dc.contributor.authorมนูญ จันทร์สมบูรณ์-
dc.date.accessioned2021-05-20T04:41:59Z-
dc.date.available2021-05-20T04:41:59Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกฤษฎากรณ์ ยูงทอง. (2555). การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลนางั่ว. จังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.-
dc.identifier.citationจำเนียร จันทร์ผลึก. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบล เขาชัยสน. พัทลุง: องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน.-
dc.identifier.citationฉอ้าน วุฑฒิกรรมรักษา. (2526). ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมทีมีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วม ของประชาชนในโครงสร้างงานในชนบท. จังหวัดราชบุรี. สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationฐิติมา อุดมศรี. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบล. จังหวัด สมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม.-
dc.identifier.citationณรงค์ วารีชล. (2551). การมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาเทศบาลสู่เมืองน่าอยู่ กรณีศึกษาเทศบาลตำบลบางพระ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationณัฏยาณี บุญทองคำ. (2555). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล ท่าพล. จังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.-
dc.identifier.citationดรรชนี สระบัว. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลชะแมบ. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระ บรมราชูปถัมภ์.-
dc.identifier.citationทวีศักดิ์ ไขว้พันธุ์. หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป กองส่งเสริมวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและกีฬาเทศบาลนครนครปฐม . 28 มกราคม 2562. สัมภาษณ์.-
dc.identifier.citationธนวัฒน์ คำภีลานนท์. (2550). การมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาท้องถิ่นเขตเทศบาลเมืองคูคต. จังหวัด ปทุมธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.-
dc.identifier.citationธวัช เบญจาธิกุล. (2529). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชาวนาในการพัฒนาหมู่บ้านชาวเขา. วิทยานิพนธ์ สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationนคร สำเภาทิพย์. (2542). การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationนิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2550). แนวคิดแนวทางการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: บริษัทราไทยเพลส.-
dc.identifier.citationปรัชญา เวสารัชช์. (2540). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมเพื่อพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: นักงานปฏิรูปการศึกษา.-
dc.identifier.citationประชัย ศรีจามร. (2549). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปลูกป่าภาครัฐ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.-
dc.identifier.citationประเสริฐ สุนทร. (2543). การมีส่วนร่วมชองประชาชนในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีกอง บังคับการตำรวจนครบาล 6. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationวัชราภรณ์ เอี่ยมสะอาด. (2538). ปัจจัยที่มีผลต่อความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของสตรีในการพัฒนาท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationวันชัย วัฒนศัพท์. (2544). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.-
dc.identifier.citationวิษณุ หยกจินดา. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน หมู่บ้านทุ่งกร่าง จังหวัดจันทบุรี. ชลบุรี: วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationสิทธิ์ธนัชท์ วารุณสหรัชภณ.(2559).การมีส่วนร่วมต่อการบริหารงานปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลตลาด จินดา อำเภอสามพราน.การค้นคว้าอิสระ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationสุนทร กองทรัพย์. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล. นนทบุรี. ภาค นิพนธ์พัฒนาสังคม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.-
dc.identifier.citationอรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ส.เจริญการพิมพ์.-
dc.identifier.citationอรทัย พระทัด. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์. สารนิพนธ์รัฐศาสตร มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationอนุภาพ ถิรลาภ. (2528). การวิเคราะห์เชิงสมมติฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท: ศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัดอุบลราชธานี. สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationอุทุมพร จามรมาน (2530). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์. คณะครุศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลนครนครปฐม. สืบค้น 9 เมษายน 2562 จาก https://www.nakhonpathomcity.go.th.-
dc.identifier.citationประวัติความเป็นมาของเทศบาลนครนครปฐม. สืบค้น 9 เมษายน 2562 จาก https://www.nakhonpathomcity.go.th.-
dc.identifier.citationอำนาจหน้าที่ของเทศบาลนครนครปฐม. สืบค้น 9 เมษายน 2562 จาก https://www.nakhonpathomcity.go.th.-
dc.identifier.citationหัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป กองส่งเสริมวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและกีฬาเทศบาลนครนครปฐม, 28 มกราคม พ.ศ.2562, สัมภาษณ์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1177-
dc.description.abstractThis objectives of this research to study : 1) the level of public participation in terms of culture, traditions and sports 2) the personal factors that affect people's participation in terms of culture traditions and sports. The sample group in this research was used 398 people living in Nakhon Pathom Municipality area. The research instrument was a questionnaire constructed by the researcher. The data was analyzed with percentage, mean, standard deviation and chi-square test. The research found that: 1. The level of people's participation in culture traditions and sports of Nakhon Pathom Municipality overall was in moderate level, while each aspect consisted of decision making in high level, moreover the operation, beneficiary, and the evaluation were in medium level. 2. The personal factors that do not affect people's participation in culture traditions and sports of Nakhon Pathom Municipality in general, including gender, age, occupation, education and income.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬา 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬา กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนที่พักอาศัยในเขตพื้นที่เทศบาลนครนครปฐม จำนวน 398 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย คือ แบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬาของเทศบาลนครนครปฐมโดยภาพรวมอยู่ ในระดับปานกลาง ส่วนรายด้าน ประกอบด้วย ด้านการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก และด้านการดำเนินงาน การรับผลประโยชน์ ด้านการประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษาและรายได้ ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในด้านวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬาของเทศบาลนครนครปฐม ทั้งในภาพรวมและรายด้าน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectPublic participationen_US
dc.subjectCultureen_US
dc.subjectTradition and Sportsen_US
dc.subjectMunicipalityen_US
dc.titlePublic participation in cultural aspects, The traditions and sports of Nakhon Pathom Municipalityen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬาของ เทศบาลนครนครปฐม-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.