Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1150
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Kongterm, Somjai | - |
dc.contributor.author | สมใจ กงเติม | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T13:55:02Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T13:55:02Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | กระทรวงศึกษาธิการ. (2560).นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงานที่เกี่ยวข้องกับจุดเน้นนโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ. ค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2561 จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/pdf | - |
dc.identifier.citation | จิรวัฒน์ วีรังกร. (2554). การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานโครงการบัณฑิตยุคใหม่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 44 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 30 มกราคม - 2 กุมภาพันธ์ 2006, กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | - |
dc.identifier.citation | เจษฏา กิติสุนทร และวาสนา กีรติจำเริญ (2558). การศึกษาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษารายวิชาการ พัฒนาหลักสูตรตามรูปแบบ Big Five Learning. วารสารชุมชนวิจัย ,11 (1), 55-62 | - |
dc.identifier.citation | ชัยยศ อิ่มสุวรรณ (2547) . การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . 33(1). 31-39 | - |
dc.identifier.citation | ดุจเดือน ไชยพิชิต ( 2558) การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนตำรวจตระเวรชายแดน ระดับประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี .วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 8(1).157-164 | - |
dc.identifier.citation | ฤตินันท์ สมุทร์ทัย. (2556).การวิจัยนำร่องการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูสำหรับศตวรรษที่ 21. ม.ป.พ.ม.ป.ท.,. (อัดสำเนา). | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2551). การเรียนรู้ขุมทรัพย์ในตน Learning the Treasure Within. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ, 10-11 | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580) ค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561 จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560-2575 กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิคจำกัด | - |
dc.identifier.citation | เหงียน ถิ ทู ฮ่า .( 2561). การศึกษาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ของนักเรียนมัธยมปลาย จังหวัดกาวบั่ง ประเทศ เวียดนาม.วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6 (2) 14-23 | - |
dc.identifier.citation | เอกชัย พุทธสอน และสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล .(2557) . แนวโน้มการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สำหรับ นักศึกษาผู้ใหญ่. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(4), 93-106. | - |
dc.identifier.citation | อ้อมใจ พลกายา และอัจฉราพรรณ วงษ์น้อย .(2561). ความพึงพอใจในงานและทักษะแห่งศตวรรษที่21 ของบัณฑิตวิทยาลัย พยาบาลบรมราช ชนนี จักรีรัช.วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์ ,2 (2) ,102-114. | - |
dc.identifier.citation | Assessment and Teaching of 21st Century Skills. (2012). What are 21st century skills? From http://atc21s.org/ | - |
dc.identifier.citation | Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610. | - |
dc.identifier.citation | Partnership for 21st Century Skills. (2010). Framework definition. From http://www.p21.org/ documents/ P21-Framework-Definitions.pdf | - |
dc.identifier.citation | Taba, Hilda. (1962). Curriculum Development, Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1150 | - |
dc.description.abstract | The current research aimed to 1) discover the basic information about the teacher students’ 21st century learning skills management, 2) create and verify the quality of a curriculum, 3) try out the created curriculum, and 4) evaluate the teacher students’ satisfaction towards the curriculum. The research methodology was carried out in four stages. Firstly, the basic information about the teacher students’ 21st century learning skills management was surveyed by a questionnaire with 175 samples. Secondly, the quality of the created curriculum was verified by a form of suitability and consistency. Thirdly, the curriculum was tried out. Fourthly, the satisfaction towards the curriculum was surveyed with 100 samples. The findings showed that 1) the overall level of the teacher students’ cognition of the basic information about the 21st century learning skills was high; 2) the quality of the curriculum consisted of eight elements: 1) background and importance, 2) principles, 3) aims, 4) contents, 5) activities, 6) duration, 7) teaching aids, and 8) measurement and evaluation; meanwhile, the suitability and consistency of the curriculum was high; 3) the teacher students’ post-perception of the basic information about the 21st century learning skills was significantly different at the statistical level of .05 and the results of the 21st century learning skills assessment had passed the assessment criteria as specified by the curriculum; ; 4) the overall level of the teacher students’ satisfaction towards the curriculum was high. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ของนักศึกษาครู 2)สร้าง และตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร 3) ทดลองใช้หลักสูตร 4) ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อหลักสูตร การดำเนินการมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จาก กลุ่มตัวอย่าง 175 คน เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม 2) การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรโดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมและสอดคล้อง 3) การทดลองใช้หลักสูตรและ 4) การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาครูที่มีต่อหลักสูตร จากกลุ่มเป้าหมาย 100 คน ผลวิจัยพบว่า 1 ) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานด้านทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พบว่านักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมาก 2) ผลการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร พบว่ามี 8 องค์ประกอบได้แก่ 1) ความเป็นมาและความสำคัญของหลักสูตร 2) หลักการของหลักสูตร**3) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 4)* เนื้อหาสาระของหลักสูตร 5) กิจกรรมการฝึกอบรม 6))ระยะเวลา 7) สื่ออุปกรณ์การฝึกอบรม 8) การวัดและการประเมินผล* และตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและองค์ประกอบของหลักสูตรมีความสอดคล้องกัน 3) ผลการทดลองใช้หลักสูตร พบว่านักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยหลังการทดลองใช้ หลักสูตรสูงกว่าก่อนการใช้หลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่หลักสูตรกำหนด 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้หลักสูตรในภาพรวม อยู่ในระดับมาก | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | curriculum development | en_US |
dc.subject | learning skills | en_US |
dc.subject | 21st century | en_US |
dc.title | The Curriculum Development to Enhance the 21st Century Learning Skills for the Teacher Students of Phetchabun Rajabhat University | en_US |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.pdf | 278.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.