Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1149
Title: Conditions and Guidelines for Supporting Work Motivation of School Administrators under Buriram Primary Educational Service Area Office 2
สภาพและแนวทางการส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
Authors: Rongchaiyaphoom, Watcharin
Thassanathep, Winiranee
Poldech, Sripen
วัชรินทร์ รองชัยภูมิ
วินิรณี ทัศนะเทพ
ศรีเพ็ญ พลเดช
Keywords: Supporting
Work Motivation School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: นิติพล ภูตะโชติ. (2556). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลักษมณี จ่าแท่นทะรัง. (2556). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขยายโอกาสกลุ่มนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. (2562). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษาเทศออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2562, http:/www.data.bopp-obec.info>school.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2563). รายงานการตรวจเยี่ยมและพบปะข้าราชการเพื่อสอบถามปัญหา อุปสรรคในการทำงาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
อภิฤดี ภู่รอด. (2557). การศึกษาบทบาทของผู้บริหารและแนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607 - 610. McClelland, D. C. (1961). The Achieving Society. New York : D. Van Nostrand.
Abstract: This research aimed 1) to study conditions for supporting work motivation of school administrator under Buriram Primary Educational Service Area Office 2, 2) to compare conditions for supporting work motivation of school administrators under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 classified by educational level and work experience; and 3) to examine guidelines for supporting work motivation of school administrators under Buriram Primary Educational Service Area Office 2. The samples were 335 teachers selected by simple random sampling in which the data were collected by using a 5-point rating scale questionnaire with the reliability of 0.953 and nine administrators selected by purposive sampling were interviewed. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Scheffe’s Method and content analysis. The results indicated that 1) conditions for supporting work motivation of school administrators were at a high level in overall aspect, 2) comparison of conditions for supporting work motivation of school administrators classified by educational level. was not different; however, when classified by work experience, statistically significant different was found in overall aspect and 3) the guidelines for supporting work motivation of school administrators can be divided into ten categories as follows: (1) policies should be created by making work plans / projects to Inform teachers and reward them when they successfully performed their duties, (2) school administrators should be a role model for keeping the words, respecting the elders and honoring each other. (3) the indicators and work evaluation methods should be set to cover school workload, (4) work plans / projects which conform to the needs of students and the community should be organized by promoting students’ activities to the community, (5) self development should be promoted to catch up with the media , up-to-date technology by making a study visit to the successful schools, (6) teachers should be encouraged to attend the training in an exchanging learning, (7) plans / projects should be provided to praise teachers and award them when the work was completed, ( 8) school administration policies should be created to be conformed to educational management direction and changes in globalization, (9) resources from the community should be mobilized and (10) school administrators should be a role model in self-development and raise awareness and faith in profession.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กาศึกษาประถศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการสร้งแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนกตามวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ์นการทำงาน และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานขตพื้นที่การศึกษาประณศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู้ จำนวน 335 คน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถมมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0953 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และแบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ เลือกแบบเจาะจง จำนวน 9 คน มีลักษณะแบบ กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวม มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบทียบสาาพการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงาน เมื่อจำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่า ภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า ภาพรวมแตกต่างกัน และ 3) แนวทางการส่งเสริม การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน พบว่าควร (1)กำหนดนโยบายโดยจัดทำเป็นแผ่นงาน/โครงการ แจ้งให้ครูทราบ และให้รางวัล มื่อปฏิบัติหน้าที่สำเร็จ (2 ปฏิบัติตนป็นแบบอย่างที่ดีในการรักษาคำพูด ให้ความเคารพผู้อาวุโสและให้เกียรติซึ่งกันและกัน (3)กำหนดตัวชี้วัด วิธีการประเมินผลงานให้ครอบคลุมภาะงานโรงเรียน (4) จัดทำแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับความต้องการ ของนักเรียน และชุมชน โดยส่งสริมการนำกิจกรรมนักเรียนสู่ขุมขน (5) พัฒนาตนให้ก้าวทันสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยการศึกษา ดูงานสถานศึกษาที่ปะสบความสำเร็จ (6 สนับสนุนครูเข้ารับการพัฒนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (7) จัดทำแผนงาน/โครงการยกย่อง ชื้นชมครูและมอบรางวัลเมื่องนสำเร็จ (8) กำหน่ดนโยบายการบริหารสถานศึกษาให้สอดคล้องกับทิศทางการจัดการศึกษาและ การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ (9) ระดมทรัพยากรจากชุมชน และ (10) เป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาตน ปลูกจิตสำนึกและ สร้างความศรัทธาในวิชาชีพ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1149
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.