Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Limwananon, Junyong | - |
dc.contributor.author | จันทร์ยงค์ ลิ้มวนานนท์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T11:51:38Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T11:51:38Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | โกสินทร์ วิราษร. เคมีบำบัดในผู้ป่วยตั้งครรภ์. ค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2563 จาก https://www.smj.ejnal.com /e-journal | - |
dc.identifier.citation | จตุพล ศรีสมบูรณ์ , และชำนาญ เกียรติพีรกุล. บรรณาธิการ. (2554). มะเร็งนรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี. | - |
dc.identifier.citation | จิตรากานต์ เจริญบุญ. (2011). Ovarian tumor in pregnancy. ค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=534:ovariantumor- in-pregnancy&catid=45&Itemid=561. | - |
dc.identifier.citation | ชัยเลิศ พงษ์นริศร. (2010). เนื้องอกของรังไข่. ค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=416:ovariantumor& catid=42&Itemid=479. | - |
dc.identifier.citation | เพลินพิศ ธรรมนิภา. (2558). คู่มือการพยาบาล การบริหารยาเคมีบำบัดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งรังไข่. กรุงเทพฯ: งานการ พยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. | - |
dc.identifier.citation | ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2553). ตำราการพยาบาลนรีเวช (ฉบับองค์รวม). กรุงเทพฯ: วี พริ้น. | - |
dc.identifier.citation | ภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2563). คู่มือการส่งตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ. ค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/manual/Project/content. | - |
dc.identifier.citation | ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). ตำรานรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: พี เอ ลีฟวิ่ง. | - |
dc.identifier.citation | วิระพล ภิมาลย์. (มปป.). เภสัชกรรมบำบัดในมะเร็งรังไข่. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563 จาก http://kpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byval/ag_16_in_1.2.4_509(2555).pdf. | - |
dc.identifier.citation | วีรศักดิ์ วงศ์ถิรพร. (2553). โรคมะเร็งรังไข่. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=215. | - |
dc.identifier.citation | เว็บไซต์เมดไทย (MedThai). (2017). มะเร็งรังไข่ (Ovarian cancer) อาการ สาเหตุ การรักษาโรคมะเร็งรังไข่ 5 วิธี !. ค้น เมื่อ 10 พฤษภาคม 2563 จาก https://medthai.com/มะเร็งรังไข่. | - |
dc.identifier.citation | ศูนย์รวบรวมข้อมูล โรงพยาบาลนครปฐม. (2563). สถิติผู้ป่วย: โรงพยาบาลนครปฐม. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.nkpthospital.go.th/th/. | - |
dc.identifier.citation | สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งรังไข่. กรุงเทพฯ: โฆสิตการพิมพ์. | - |
dc.identifier.citation | สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับยาเคมีบำบัด และ การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยา. กรุงเทพฯ: นิวธรรมดาการพิมพ์. | - |
dc.identifier.citation | สุวิชา จิตติถาวร. (2018). มะเร็งรังไข่. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563 จาก https://med.mahidol.ac.th/cancer_center/th/protfolio/knowledge/gyne/ovary. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1132 | - |
dc.description.abstract | Objective: This study was to compare nursing care of patients with ovarian cancer found in the postpartum period and generally according to the characteristics of stem cells. Methods: This two case study of patients with ovarian cancer was selected by purposive sampling. The data were collected from medical records, interviewed patients and their relative. The functional health pattern of Gordon was used to assess health problems to planning a holistic nursing care including nursing care, nursing diagnosis, nursing care planning program, and to evaluate the outcome of nursing care for patients with ovarian cancer. Results: Case study 1, aged 23, found symptoms of acute ascites after 2 hours of childbirth. She was diagnosed with germ cell stage II B ovarian cancer and treated by Right SO, PLND, Omentectomy and PEB chemotherapy regimen for 5 days each cycle. She had significant problems from complications of chemotherapy and psychological problems that cannot be raised children after birth. Case study 2, aged 59, without children, had an abdominal pain for about 1 month. She was diagnosed with epithelial ovarian cancer Stage III A2 and treated by surgery on TAH, BSO, PLND, Omentectomy, pelvic lymph node dissection, debulking tumor of the sigmoid and chemotherapy with Carboplatin and Paclitaxel for 1 day each cycle. The nurse sought counselling, monitoring and prevention of various complications closely and continuously. Finally, all of them can cope with problems and adapt to illness well. Conclusion: These findings suggest that despite being treated with surgery and chemotherapy alike in ovarian cancer patients are found in the postpartum period and are commonly found But there are different nursing problems. Therefore, nurses must understand the individual to provide holistic nursing to effectively cover the patient's problems. | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่พบในระยะหลังคลอด และพบโดยทั่วไป ตามลักษณะ ของเซลล์ต้นกำเนิด วิธีการศึกษา: เลือกผู้ป่วยกรณีศึกษา 2 ราย แบบเจาะจง เป็นผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล นครปฐม เก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วย ผู้ป่วยและญาติ กำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลโดยใช้แนวคิด 11 แบบ แผนสุขภาพของกอร์ดอน วางแผน ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล สรุปและประเมินผลการพยาบาล ผลการศึกษา: ผู้ป่วยรายที่ 1 อายุ 23 ปี เป็นมะเร็งรังไข่ชนิด germ cell Stage II B พบอาการมีน้ำในช่องท้อง เฉียบพลันหลังคลอดบุตร 2 ชั่วโมง ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด Right SO, PLND, Omentectomy และยาเคมีบำบัด PEB regimen Cycle ละ 5 วัน มีปัญหาสำคัญจากภาวะแทรกซ้อนของยาเคมีบำบัด และปัญหาด้านจิตใจที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตร หลังคลอดได้ ผู้ป่วยรายที่ 2 อายุ 59 ปี ไม่มีบุตร เป็นมะเร็งรังไข่ชนิดเยื่อบุผิว (Epithelial) Stage III A2 มีอาการปวด ท้องน้อยมา ประมาณ 1 เดือน ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด TAH, BSO, PLND, Omentectomy, pelvic lymph node dissection, debulking tumor of sigmoid และยาเคมีบำบัด Carboplatin และ Paclitaxel cycle ละ 1 วัน พยาบาลได้ ให้คำปรึกษา ดูแลเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เมื่อประเมินผลทางการพยาบาลพบว่า ผู้ป่วยทั้ง 2 ราย สามารถเผชิญปัญหาและปรับตัวต่อการเจ็บป่วยได้ดี สรุป : ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่พบในระยะหลังคลอดและพบโดยทั่วไป แม้ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดและเคมีบำบัด เหมือนกัน แต่มีปัญหาการพยาบาลที่แตกต่างกัน ดังนั้นพยาบาลจึงต้องเข้าใจในปัจเจกบุคคล เพื่อให้การพยาบาลแบบองค์รวม ครอบคลุมตามปัญหาของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Ovarian Cancer | en_US |
dc.subject | Postpartum Period | en_US |
dc.subject | Chemotherapy | en_US |
dc.title | Nursing Care of Patients with Ovarian Cancer during Postpartum Period and Receiving Chemotherapy: Comparative Study Case | en_US |
dc.title | การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่พบในระยะหลังคลอดและได้รับเคมีบำบัด: กรณีศึกษาเปรียบเทียบ | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่พบในระยะหลังคลอดและได้รับเคมีบำบัด.pdf | 235.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.