Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1131
Title: | Activities Development of Thai Song Dum Local Wisdom to Sustainable Tourism: Case Study at Don Sai Community, Sra Krathiam Sub District, Muang District, Nakhon Pathom Province. การพัฒนากิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยทรงดำสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชุมชนดอนทราย ตำบลสระกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม |
Authors: | Jaiwong, Niracha Kunawiwat, Mantira Sawadichai, Tanradee Jaroenpornopart, Supowada Leksuma, Prapon Chuamuangphan, Nipon นิรชา ใจว่อง มัณฑิรา คุณาวิวัฒน์ ธัญรดี สวัสดิไขย สุภาวดา เจริญพรโอภาส ประพนธ์ เล็กสุมา นิพล เชื้อเมืองพาน |
Keywords: | Sustainable Tourism Thai Song Dum Local Wisdom Don Sai Community |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ชุติมา เชนะโยธิน. (2551). ชุมชนชาวไทยโซ่งหมู่บ้านดอนทราย : การศึกษาพัฒนาการทางเศรษฐกิจของชุมชน
ระหว่างปี พ.ศ.2504-2549. ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร. ดวงพร ตั้งวงศ์. (2554). การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากผ้าพื้นเมืองไทยทรงดำ อำเภอเขาย้อยจังหวัด เพชรบุรี. คหกรรมศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ธัญชนก แววแก้ว. (2557). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางไปประเทศเกาหลีหรือ ญี่ปุ่น. หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. นงลักษณ์ โพธิ์ไพจิตร และ คณะ. (2561). การพัฒนาศักยภาพกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษา กลุ่มชนไทยทรงดำ ตำบลบ้านดอน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. นิศศา ศิลปะเสรฐ. (2560), อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.หน้า59 ส านักมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั่ง ที่ 7 โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิศา ชัชกุล. (2557). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว.หน้า 62 ส านักชิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 6 โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปนัสยา สิระรุ่งโรจน์กนก. (2559).พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการ จัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว กรณีศึกษาตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. หลักสูตรวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา. พิมพ์ชนก มูลมิตร. (2562), การท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ในจังหวัดนครปฐมจากฐานทรัพยากรทางการท่องเที่ยวสู่รูปแบบและกิจกรรมการท่องเที่ยว.สู่รูปแบบและกิจกรรมการท่องเที่ยว. สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. พิมพ์ผกา ไร่ทองรุ่งโรจน์ และคณะ. (2561). แนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่าง สร้างสรรค์ชุมชนปฐมอโศก จังหวัดนครปฐม. สำขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. จุรีวรรณ จันพลา และ คณะ. (2554). การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยทรงดำเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนว เศรษฐกิจสร้างสรรค์. การวิจัยจากกรมส่งเส้ริมวัฒนธรรม. วุฒิภัทร โพล้งละ และ คณะ. (2560). กรพัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ณ ศูนย์ วัฒนธรรมไทยทรงดำ หมู่บ้านดอนทราย ตำบลสระกะเทียม อำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม. สาขาการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สาธิญา รุ่งพิพัฒนพงศ์. (2557). องค์ประกอบของความยั่งยืนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม (สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกี่ฬา. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564). พิมพ์ครั้งที่ 1. ส านักงนกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก สุถี เสริฐศรี. (2557).แนวทางการจัดกรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในชุมชนคลองโคลน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม.หลักสูตรศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิซาการจัดการอุตสาหกรรม การบริการและ การท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. Smith W, L. (2005). Experiential Tourism around the World and at Home: Definitions and Standards. Emporia State University. |
Abstract: | Objectives of this study were: 1) to study spatial context of Don Sai Community, Nakhon Pathom
Province, 2) to evaluate tourist satisfaction in the community 3) to design the development approach on
Thai Song Dum local wisdom activities in order to be a sustainable tourism. The research tools for
collecting data were in-depth interview and questionnaires for target groups, including 23 people of
government officers, entrepreneurs and people in Don Sai Community. The sample group was 49 tourists
who visited Don Sai Community. The data then was derived from interviewing for content analysis. After
that, the researchers used data which were derived from questionnaires for analysis by using computer
analysis program, and presented the results according to objectives. 1) The results indicated that spatial
context of Don Sai Community, Sra Krathiam Sub District, Muang District., Nakhon Pathom Province was
the community that most of Thai Song Dum lived in (ethnic groups originating from the Twelve Chutsai
region in the north, which migrated to settlements in Thailand at the during end of the Thonburi period..
Consequentty, this community had unique cultural identity. In addition, they built Thai Song Dumn culture
learning center in order to pass on local wisdom and local culture in the past to young generation.
Although the route to this community wasn't convenient for accessing this field, this community had
facilities for tourists such as toilets and car park. Moreover, activities of this community included fabric
weaving and basket making. However, this community had problem as they have the same activities for
tourists, so tourists didn't come back there again. Moreover, tourists didn't actually learn about or access
community way of life.2) To design the development guidelines of tourism activities in 6 ways, including
1) development of activity environment, 2) development of ability to support, 3) development of safety
management, 4) participatory development, 5) development of passing on stories and 6) market
development which lead to tourism activities for learning with economic, social and cultural
sustainability and community environment for approaches to development of Thai Song Dum local
wisdom activities to sustainable tourism. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เฟือ 1 ศึกษาบริบทฟื้นที่ของชุมชนดอนทราย ตำบลสระกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม 2) กำหนดแนวทางในการพัฒนากิจกรรมทางภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยทรงดำสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยเครื่องมือที่ ใช้เก็บข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถาม กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ประกอบการ และ ประชาชนภายในชุมชนดอนทราย จำนวน 23 คน กลุ่มตัวอย่าง คือนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาที่ชุมชนดอนทราย จำนวน ทั้งหมด 49 คน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภษณ์มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหานำข้อมูลที่ได้จกการสอบถามมาทำการ วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป จากนั้นนำเสนอผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทฟื้นที่ ชุมชนดอนทราย ตำบลสระกระเทียม อำเถอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นชุมชนที่มีข่าวไทยทรงดำ (เป็นคำเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่ มีต้นกำเนิดมาจากดินแดนสิบสองจุไทตอนเหนือซึ่งได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยช่วงปลายสมัยกรุงธนบุรี) อยู่ใน พื้นที่เป็นส่วนใหญ่ ทำให้ชุมชนมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น นอกจากนี้ภายในชุมชนได้มีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ วัฒนธรรมไทยทรงดำขึ้นมาเพื่อต้องการนำเสนอถ่ายทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวไทยทรงดำในอดีตให้แก่คน รุ่นหลัง โดยเส้นทางการเดินทางไปยังชุมชนในการเข้าถึงฟื้นที่ยังไม่สะดวกมากนัก แต่ภายในชุมชนมีสิ่งอำนวยความสะดวก ต่าง ๆ สำหรับนักท่องเที่ยวทั้งห้องน้ำ ลานจอดรถ ซึ่งกิจกรรมภายในชุมชนดอนทราย ได้แก่ กิจกรรมทอผ้า กิจกรรมจักสาน เป็นต้น แต่กิจกรรมภายในชุมชนยังประสบปัญหาด้านการพัฒนาการจัดรูปแบบกิจกรรม ที่ยังคงเป็นกิจกรรมเดิม จึงทำให้ นักท่องเที่ยวไม่เกิดการมาเที่ยวซ้ำและนักท่องเที่ยวยังไม่เกิดการเรียนรู้หรือเข้าถึงวิถีชีวิตชุมชนได้อย่างแท้จริง 2) สำหรับ แนวทางในการพัฒนากิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยทรงดำสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายในชุมชนดอนหราย สามารถ สังเคราะห์แนวทางการพัฒนากิจกรรมทางการท่องเที่ยวได้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) การพัฒนาสภาพแวดล้อมในการจัดกิจกรรม 2) การพัฒนาความสามารถในการรองรับ 3) การพัฒนาการจัดการความปลอดภัย 4) การพัฒนาการสร้างการมีส่วนร่วม 5) การ พัฒนาการถ่ายทอดเรื่องราว 6) การพัฒนาการตลาด ซึ่งนำไปสู่กิจกรรมทางการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ควบคู่ไปกับความ ยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงสภาพแวดล้อมของชุมชน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1131 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนากิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยทรงดำสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.pdf | 217.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.