Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1128
Title: Creative city development: Lesson learned from community management in Bang Lamphu, Bangkok
การพัฒนาเมืองสร้างสรรค์: ถอดบทเรียนการจัดการชุมชนย่านบางลำพู กรุงเทพมหานคร
Authors: Phansiri, Phiraphath
Areerob, Aut
witthawatsakulwong, Raiwin
พีรพัฒน์ พันศิริ
อรรถ อารีรอบ
รัยวินทก์ วิทวัสกุลวงศ์
Keywords: Creative city
Community management
Lesson learned
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรวรรณ รุ่งสว่าง. (2516). การวิเคราะห์สถานภาพการเป็นเมืองสรรค์ กรณีศึกษาชุมชนเมืองขอนแก่น ราชบุรี และ บางเลน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบและวางผังเมืองชุมชนเมือง. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2556). เมืองสื่อสร้างสรรค์: ตัวชี้วัดและการนำไปใช้. นครปฐม: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ.
เกศินี ประทุมสุวรรณ. (2559, เมษายน-มิถุนายน). “เมืองสื่อสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนาเยาวชน” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 36, ฉบับที่ 2, หน้า 55-69
Borchardt, A. (2013). The Creative City: Place, Creativitiy & Peple, Glasgow and Portland. The Glasgow School of Art. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 จาก https://issuu.com/thecreativecity/docs/creative-city
Proshansky, H.M. (1978). The City and Self-identity. Journal of Environment and Behaviour, 10 (2). สืบค้นเมื่อม 20 พฤษภาคม 2563, จากhttp://journals.sagepub.com/doi/pdf/10.1177/0013916578102002
UNCTAD. (2008). Creative Economy Report 2008. ส ืบ ค ้น เ ม ื่อ 20 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 3 , จ า ก unctad.org/en/docs/ditc20082cer_en.pdf
Abstract: This article presents community development guidelines. Through the learn lesson in the community management in Bang Lamphu, Bangkok. Under the concept of creative city development, focusing on driving the creative city by the project and creative activities, management process and mechanism including success and results. From the lesson, it’s concluded that community management in Bang Lamphu has the community management to be a model community driven by integrated activities. The many elements dimensions of the community consist of the people, city and economy and space with identity. There are 5 steps of activities such as 1) meeting for the operational plan 2) Data collection or storage knowledgeable from local philosopher in the community. 3) Community map making 4) Cultural tourism activities 5) creating creative media The results of operations when the project is finished, there is a value changed which came from the implementation of the project aimed at creating strengths, identity and The roots of media art and culture ,pride in local wisdom used in the development process and creating change. Emphasis on promoting community participation to be both of giver and receiver, promoting the "volunteer" and creating community volunteer leadership of art and culture “and participate in public policy to enable the management of urban communities to the creative and sustainable urban communities.
บทความนี้นำเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชน ผ่านการถอดบทเรียนการจัดการชุมชนย่านบางลำพู กรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิดการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ มุ่งให้เห็นถึง การขับเคลื่อนเมืองสร้างสรรค์ด้วยโครงการและกิจกรรมสร้างสรรค์ กระบวนการและกลไกการจัดการตลอดจนความสำเร็จและผลลัพธ์ จากบทเรียนสรุปได้ว่า การจัดการชุมชนย่านบางลำพูมีการจัดการชุมชนเพื่อให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ ขับเคลื่อนด้วย กิจกรรมที่บูรณาการองค์ประกอบในหลายมิติของชุมชนประกอบด้วยมิติของคน มิติของเมืองและเศรษฐกิจ มิติของพื้นที่ และอัตลักษณ์เข้าด้วยกัน โดยมีการดำเนินกิจกรรมใน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2. การลงพื้นที่ เก็บข้อมูลจากผู้รู้ในชุมชน 3. การจัดทำแผนที่ชุมชน 4. การจัดกิจกรรมท่องเที่ยววัฒนธรรม 5. การจัดทำสื่อสร้างสรรค์ ซึ่งผล การการดำเนินงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณค่ามากมาย ซึ่งมาจากการดำเนินโครงการที่มุ่งดึงจุดเด่น อัตลักษณ์ รากเหง้าของสื่อศิลปะและวัฒนธรรมชุมชน ความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในกระบวนการพัฒนาและ สร้างการเปลี่ยนแปลง เน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ ส่งเสริมกระบวนการ“จิตอาสา”และ “สร้างแกนนำอาสาสมัครชุมชนด้านศิลปะ-วัฒนธรรม”และมีส่วนร่วมต่อนโยบายสาธารณะ เพื่อให้การจัดการชุมชนเมือง ไปสู่ ชุมชนเมืองสร้างสรรค์ได้อย่างยั่งยืนต่อไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1128
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การพัฒนาเมืองสร้างสรรค์.pdf386.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.