Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1120
Title: INDUCTION LEARNING MANAGEMENT SUPPLEMENTED WITH GRAPHIC ORGANIZER UNDERSTANDING OF GENETIC CONCEPT AND ANALYTICAL THINKING ABILITY OF GRADE 5 STUDENTS
การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยเสริมด้วยผังกราฟิกต่อความเข้าใจมโนทัศน์พันธุกรรม และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Authors: Phoowiangkaeo, Natthanicha
Jeeravipoolvarn, Varanya
ณัฏฐณิชา ภูเวียงแก้ว
วรัญญา จีระวิพูลวรรณ
Keywords: Induction learning
Graphic organizer
understanding of genetic concept
analytical thinking
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมวิชาการ. (2544). การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ.
กิตติยา วงษ์คำพระ. (2561). ผลการเรียนรู้แบบซิปปาเสริมด้วยการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานต่อ ความเข้าใจมโนมติการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต วิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
กองนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน. (2545). การศึกษาสภาพการจัดการ เรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: กองนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน.
ทิศนา แขมมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_____. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญเหลือ งามสิทธิ์. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยต่อความเข้าใจมโนมติ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ประภารัตน์ โคตรยอด. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยต่อความเข้าใจมโนทัศน์วิวัฒนาการและ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
แรมจันทร์ พรมปากดี. (2558). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ แบบ 7 ขั้น ร่วมกับผังกราฟิก เรื่องพันธุกรรม.วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วรรณทิพา รอดแรงค้า และ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2542). กิจกรรมทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับครู. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ (พว.).
วีนา ประชากูล และ ประสาท เนืองเฉลิม. (2554). รูปแบบการเรียนการสอน (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศิริลักษณ์ แก้วสมบูรณ์. (2543). ผลของการใช้เทคนิคผังกราฟฟิกในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อการนำเสนอ ข้อความรู้ด้วยผังกราฟฟิก และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน). (2562). รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. เข้าถึงได้จาก http://www.newonetresult.niets.or.th.
Buzan, Tony. & Buzan, Barry. 1997. The Mind Map Books : Radiant Thinking. London: BBC. Books.
Abstract: The purposes of this research were to study and compare understanding of genetic concept and analytical thinking ability before and after learning by Induction learning management of grade 5 students. The sample consisted of 16 students who studied in the second semester of the academic year 2019 at a small size Primary school in the primary Education Service Area Office 3. They were selected by cluster random sampling technique. Research instruments included 1) 6 lesson plans of Induction learning management supplemented with graphic organizer 2) a genetic concept test; and 3) an analytical thinking ability test. The data were analyzed for percentage mean, standard deviation and hypothesis test by t-test for dependent sample. The results indicated that: 1) the student mean scores before and after learning were 9.25 (30.83%) and 19.63 (65.42%), respectively, and the posttest mean scores were higher than the pretest at the level of statistical significance 0.01. 2) the student who learnt through Induction learning management supplemented with Graphic organizer has analytical thinking ability pretest mean scores 9.19(45.94%) after learning their posttest mean score 15.00 (75.00%) the result showed that posttest mean score were higher than the pretest at the level of statistical significance 0.01.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจมโนทัศน์พันธุกรรมและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยเสริมด้วยผังกราฟิก กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนขนาดเล็กแห่งหนึ่ง ในอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน นักเรียนทั้งหมด 16 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย เสริมด้วยผังกราฟิก จำนวน 6 แผน 2) แบบวัดความเข้าใจมโนทัศน์พันธุกรรม และ 3) แบบวัดความสามารถในการคิด วิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจมโนทัศน์พันธุกรรมของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยเสริมด้วยผังกราฟิก ก่อนเรียนนักเรียนมีคะแนนมโนทัศน์พันธุกรรม 9.25 คิดเป็นร้อยละ 30.83 และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 19.63 คิดเป็น ร้อยละ 65.42 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีคะแนนความเข้าใจมโนทัศน์ พันธุกรรม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่ เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยเสริมด้วยผังกราฟิก มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 9.19 คิดเป็นร้อยละ 45.94 และ หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 15.00 คิดเป็นร้อยละ 75.00 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1120
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.