Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorRangkaidee, Rattaya-
dc.contributor.authorLapcharoen, Supawadee-
dc.contributor.authorรัตยา ร่างกายดี-
dc.contributor.authorสุภาวดี ลาภเจริญ-
dc.date.accessioned2021-05-19T07:36:54Z-
dc.date.available2021-05-19T07:36:54Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553). การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationจุฑามาศ นาคปฐม. (2559). การบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร โรงเรียนเทศบาลอินทปัญญา วัดใหญ่อินทาราม เทศบาลเมืองชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationณรรฐวรรต กำหัวเรือ. (2557). การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.-
dc.identifier.citationนิภาพรรณ ผิวอ่อน. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกุยเหนือ อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. การศึกษาอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.-
dc.identifier.citationพระปลัดไพรวัลย์ ชาคโร (ศรีเมือง). (2558). การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษา สำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2558). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา.-
dc.identifier.citationพระวิจิตร ศรีนนท์. (2555). สภาพการณ์และแนวทางการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุนทาง วิชาการ. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationมานะ อิ่มอุดม. (2558). การบริหารตามหลักธรรมาภบาลของเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. งานนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.2560. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก. 16-17.-
dc.identifier.citationรหัส แสงผ่อง. (2557). กระบวนการบริหารพัฒนาท้องถิ่นตามหลักธรรมาภิบาลของกรรมการบริหารและสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี.-
dc.identifier.citationวิทยา ยิ่งหาญ. (2556). การใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนสาตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาราชภัฎสุรินทร์.-
dc.identifier.citationสาลี่ ประทุมวงศ์.(2560). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationแสงเทียน จิตรโชติ.(2560). แนวทางการบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาลสำหรับสถานศึกษาขยายโอกาสในเขต อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารศึกษา บัณฑิต มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationสำนักนายกรัฐมนตรี.(2546). พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรี และราชกิจจานุเบกษา.-
dc.identifier.citationสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. (2562). รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2562. กรุงเทพฯ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2.-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.(2555). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good governance). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรี.-
dc.identifier.citationอริย์ธัช แก้วเกาะสะบ้า. (2560). หลักธรรมาภิบาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ.-
dc.identifier.citationCohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education (7th ed.). New York: Routledge.-
dc.identifier.citationCronbach,L.J. (1990). Essentails of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper & Row pp.202-204-
dc.identifier.citationLikert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.).-
dc.identifier.citationAttitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1119-
dc.description.abstractThis research was Survey Research. The purpose of this research were to study the teacher’s opinion base on the Good Governance of the school administration in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, to compare the teacher’s opinion base on the Good Governance of the school administration in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, by depending on educational and working experience. The sample was composed of 260 teachers in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, chosen by the simple purposive sampling method.The research instrument was the questionnaire with the reliability value of .971. The statistic use for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation (S.D.), t-test and One-way ANOVA. The Result of Research were found that : 1) The result of the teacher’s opinion base on the Good Governance of the school administration in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, as a whole and each aspect were at a highest level. The mean were arranged by ascending order were : moral principles, the rule of law, participation, responsibility, transparency, cost – effectiveness or economy. 2) The result of the comparison according to the teacher’s opinion base on the Good Governance of the school administration in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, by depending on educational were not significantly different. 3) The result of the comparison by depending on different working experience of the teachers in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkok, the result in overalls was not significantly different, when considering each side, was found that the transparency, the rule of law, participation, cost – effectiveness or economy were different statistically significantly at .05 level.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลของกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน สังกัดโรงเรียนเครือสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 6 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 260 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น .971 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล กลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขต เบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับ คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้าน หลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการ บริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ภายในโรงเรียนสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน 3) ผลการเปรียบเทียบครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ภายในโรงเรียนสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักนิติ ธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectSchool Administrationen_US
dc.subjectGood Governanceen_US
dc.titleThe School Administration Base on the Good Governance of the Teacher’s Opinion in Bhenjasiri School Network Secondary Educational Service Area Office 2 Bangkoken_US
dc.titleการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลตามความคิดเห็นของครูกลุ่มโรงเรียน สหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.