Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1109
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorKanapisut, Rhasi-
dc.contributor.authorรศิ คณาพิสุทธิ์-
dc.date.accessioned2021-05-19T05:32:01Z-
dc.date.available2021-05-19T05:32:01Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมป่าไม้.2548 การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า.กรุงเทพมหานคร,โรงพิมพ์สำนักสารนิเทศ-
dc.identifier.citationกาญจนา แก้วเทพ2538เครื่องมือการทำงานแนววัฒนาชุมชน (กรุงเทพมหานคร : สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทย เพื่อการพัฒนา)-
dc.identifier.citationกิจติญา นุ่นลอย.2553ทัศนคติของราษฎรที่มีต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้บริเวณอุทยานแห่งชาติเฉลิมพระ เกียรติไทยประจัน จังหวัดราชบุรี,คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง,2553-
dc.identifier.citationเกษม จันทร์แก้ว2540 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ, อักษรสยาม-
dc.identifier.citationขนิฏฐา กาญจนรังสีนนท์ 2551เครือข่ายเพื่อการพัฒนา.http://.cddweb.cdd.go.yn/cmu/cmu/network01.htm, 26 กรกฎาคม-
dc.identifier.citationจิตรลดา ศรีภา.2555 ปัจจัยที่มีผลต่อการร่วมมือของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าสลักพระ:กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต การบริการทรัพยากรป่าไม้และ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์-
dc.identifier.citationณัฐกานต์ ประกอบเที่ยง.2552.การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำปิงตอนบน ส่วนที่ 1 อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต การจัดการทรัพยากร สาขาวิชาการจัดการ ทรัพยากร โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationนิวัติ เรืองพานิช.2546. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ:สำ นักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationพระครูพิพิธจารุธรรม,ดร.พระครูสุมณธรรมธาดา,พันเอกเกื้อชัยภูมินายภูวเดชสินทับศาล.2557.แนวทางการอนุรักษ์ ป่าตามหลักคำสอนพระพุทธศาสนาเถรวาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช-
dc.identifier.citationพระสุธรรม ธรรมทัศนานนท์.2542.เครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมขององค์กรป่าชุมชนเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่-
dc.identifier.citationสุพจน์ เจริญสุข และ พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล.2554.การใช้เทคนิค Rainfall-runoff polygons ศึกษาการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการไหลของน้ำท่าในลำธารในช่วง 29-30 ปี หลังการปลูกป่า ที่จังหวัดน่าน.กรุงเทพฯ : สถานีวิจัยต้นน้ำน่าน ส่วน วิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,-
dc.identifier.citationสุพิมล ศรศักดา, พระครูธรรมธรศิริวัฒน์ สิริวฑฺฒโน, และ พระไสว โชติวณฺโณ.2555.รายงานวิจัย เรื่องรูปแบบ และ กระบวนการอนุรักษ์ป่าชุมชนแนวพุทธในจังหวัดอุบลราชธานี. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี-
dc.identifier.citationวิชัย เทียนน้อย.2533. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ.กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา.-
dc.identifier.citationอำนาจ เจริญศิลป์.2543. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ โอเดียนสโตร์-
dc.identifier.citationนิวัติ เรืองแก้ว.2537. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ: รั้วเขียววี บี บุ๊คเซนเตอร์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1109-
dc.description.abstractThe objective of this study is for : 1) To study the type of networking to preserve the community’s forest, 2) To study the evaluation of networking and the factors affect the network maintenance, 3) To study problems, obstacles and accepted suggestions to manage the network .This study use the qualitative researching through in-depth interviewing twenty important sources of information.As the result of the study, the type are the area networks, people gathering for the continual activities with the goal of sustainable conservationen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงรูปแบบในการจัดกิจกรรมของเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์ป่าชุมชนใน พื้นที่อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน 2) ศึกษาถึงวิวัฒนาการและกระบวนการรักษาเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์ป่าชุมชนในพื้นที่ อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดการรักษาป่าของชุมชนในเขตอำเภอบ้าน หลวง จังหวัดน่าน เป็นการศึกษาเฉพาะกรณีโดยใช้กระบวนการการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กับผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ จำนวน 20 ราย ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบเครือข่ายในการจัดกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์ป่าชุมชนใน พื้นที่อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน เป็นเครือข่ายระดับชุมชนหรือเครือข่ายเชิงพื้นที่ มีการรวมกลุ่มของบุคคลมาทำกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์ป่าชุมชนในพื้นที่อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่านให้มีความยั่งยืนตลอดไป-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectMaintenanceen_US
dc.subjectNetworksen_US
dc.subjectConservationen_US
dc.titleNetworks Maintenance for communal Forestry Conservation in Baan Luang District, Nan Provinceen_US
dc.titleการธำรงรักษาเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์ป่าชุมชนในพื้นที่อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.