Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพัตรา จันทร์สุวรรณ-
dc.contributor.authorพัชรี กลัดจอมพงษ์-
dc.contributor.authorแพรภัทร ยอดแก้ว-
dc.contributor.authorอ้อมใจ พลกายา-
dc.contributor.authorณชพงศ จันจุฬา-
dc.contributor.authorภาณุพงษ์ ณาภูมิ-
dc.contributor.authorพัชรพรรณ ลาภกาญจนา-
dc.contributor.authorศุภรักษ์ อธิคมสุวรรณ-
dc.contributor.authorระวี สัจจโสภณ-
dc.date.accessioned2021-05-19T04:58:34Z-
dc.date.available2021-05-19T04:58:34Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกิ่งแกว ทรัพยพระวงศ. (2553). สุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุไทย, ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/epaper/july_dec2012/pdf/ac09.pdf.-
dc.identifier.citationกัณฐิกา ชัยสวัสดิ์. (2546). ภาวะความสุขและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของหญิงตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์. วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationเกษม ตันติผลาชีวะ และกุลยา ตันติผลาชีวะ. (2558). การรักษาสุขภาพในวัยสูงอายุ, กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.-
dc.identifier.citationชื่นฤทัย กาญจนจิตราและคณะ .(2553). สุขภาพคนไทย 2553: วิกฤตทุนนิยม สังคมมีโอกาส 12 ตัวชี้วัดสุขภาพ 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.-
dc.identifier.citationเชาวลักษณ์ ฤทธิเกรียงไกร. (2550), สังคมศาสตร์สาธารณสุข, กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสทอมหาวิทยาลัยทักษิน. ธารีรัตน์ อนันต์ชัยทรัพย์ ปัญญา จำรูญเกียรติกุล นฤชา โกมลสุรเดช และ รัตนาภรณ์ ชูทอง. (2561). การดูแลปัญหาที่พบ บ่อยในบริการปฐมภูมิทันยุค. กรุงเทพฯ : สหมิตรพัฒนาการพิมพ์.-
dc.identifier.citationนภาภรณ์ หะวานนท์ และธีรวัลย์ วรรธโนทัย (2552). ทิศทางใหม่ในการพัฒนาการอยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในสังคมไทย, กรุงเทพฯ : การเคหะแห่งชาติ.-
dc.identifier.citationบัวพันธ พรหมพักพิง. (2549). ความอยู่ดีมีสุข:แนวคิดและประเด็นการศึกษาวิจัย. วารสารมนุษยศาสตรสังคมศาสตร์, 23: 1- 31.ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล และเอกอนงค์ สีตลาภินันท์. (2554). คู่มือสร้างความสุขระดับจังหวัด, นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจำกัด.-
dc.identifier.citationมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2561. นครปฐม: บริษัทพริ้นเทอรี่จำกัด.-
dc.identifier.citationรวิโรจน์ อนันตธนาชัย และคณะ. (2552). การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับภาวการณ์มีอายุยืนของผู้สูงอายุไทย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.-
dc.identifier.citationรักชนก ชูพิชัย. (2550). ความผาสุกของผูสูงอายุที่เปนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลพระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.-
dc.identifier.citationวิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง และคณะ. (2552). รายงานการศึกษาสำรวจข้อมูลพื้นฐานในชุมซนเพื่อเตรียมการจัดสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมสิ่งอำนวยความสะดวกปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เทศบาลตำบลแม่เหียะ). เชียงใหม่ : คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.-
dc.identifier.citationสุภาณี สุขะนาคินทร์. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของประชาชนอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ-
dc.identifier.citationอัจศรา ประเสริญสิน ทัชชา สุริโย ปพน ณัฐเมธาวิน. (2561). สุขภาวะของผู้สูงอายุ: แนวคิดและปจจัยที่เกี่ยวของ. วารสารสุข ศึกษา, 41(1), ม.ค.-มิ.ย. :1-15.-
dc.identifier.citationAlexandrova, Anna. (2005). Subjective Well-being and Kahneman's Objective Happiness. Journal of Happiness Studies, 6(3), 301-324.-
dc.identifier.citationColeman and Hammen. (1974). Contemporary Psychology and Effective Behavior III. Scott: Forman. Pender, N.J. (1996). Health promotion in nursing practice. (3' ed). Connecticut: Appletion & Lange.-
dc.identifier.citationWorld Health Organization. (1998). Health promotion evaluation: recommendations to policymakers. Copenhagen, World Health Organization, EURO. อุตรดิตถ์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1107-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study of the experience of way the elderly for well-being. The study was conducted in Phrong Maduea community, Amphoe Mueang Nakhon Pathom, Nakhon Pathom Province. Data were collected Between March 2020 and April 2020. The main informants were 21 elderly people aged 60-76 years old. The data collection protocol based on an in-depth interview questionnaire as semi-structure was performed with individual participant. Data were investigated by the content analysis. The results were as follows: 1. The study findings revealed that the definition way of elderly for well-being in Phrong Maduea 1) Good physical health Perspective, good health, good life 2) Health perspective = The equation of happiness 3) Satisfaction aspects of life. Which means being happy, having good physical health, good mental health. Having a well-being without debt and sufficient income for expenses. There is satisfaction in life. Know about eating and spending in the family. 2. The result showed that this was divided into 4 themes and sub-categories of experiential of way the elderly for well-being were identified 1) Lifestyle consists of three sub-categories, including (1) life in childhood, (2) Lifestyle in a social context, (3) the current way of life that affects the well-being. 2) The turning point of the well-being Including experiences in the health crisis and the loss of family members. 3) Health of the elderly. 4) Coping with well-being includes Dealing with physical conditions, Coping with the state of mind, and dealing with social and environmental conditions.en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของสุขภาวะใน มุมมองของผู้สูงอายุชุมชนโพร้งมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อทำความเข้าใจวิถีสุขภาวะของผู้สูงอายุชุมขนโพรง มะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2563 ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้สูงอายุที่ มีอายุตั้งแต่อายุ 60-76 ปี จำนวน 21 คน เก็บข้อมูลโตยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการบันทึก ภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis ตรวจสอบความเชื่อถือด้วยการตรวจสอบกับผู้ให้ ข้อมูลอีกครั้ง ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้สูงอายุให้ความหมายของสุขภาวะครอบคลุม การมีความสุข มีสุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี มีความเป็นอยู่ที่ดี ไม่ มีหนี้สิน มีรายไต้เพียงพอต่อรายจ่าย มีความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ รู้จักกินรู้จักใช้จ่ายในครอบครัว 2. ข้อค้นพบของวิถีสุขภาวะของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 4 ประเด็น ดังนี้ 1) วิถีชีวิต ได้แก่ วิถีชีวิตในวัยเด็ก วิถีชีวิต ในบริบททางสังคม และวิถีชีวิตในปัจจุบันที่ส่งผลต่อวิถีสุขภาวะ 2) จุดเปลี่ยนวิถีสุขภาวะ ได้แก่ การผ่านประสบการณ์วิกฤต ทางสุขภาพ และ การสูญเสียบุคคลในครอบครัว 3) สุขภาวะของผู้สูงอายุ 4) การรับมือกับสุขภาวะ ได้แก่ การรับมือกับ สภาพร่างกาย การรับมือกับสภาพจิตใจ และ การรับมือกับสภาพทางสังคมและสิ่งแวตล้อม-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectwell-beingen_US
dc.subjectelderlyen_US
dc.subjectLifestyleen_US
dc.titleWay of elderly for well-being in Phrong Maduea Community, Amphoe Mueang Nakhon Pathom, Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.titleวิถีสุขภาวะของผู้สูงอายุชุมชนโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.