Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1088
Title: A CAUSALITY RELATIONSHIP BETWEEN THAI HOUSEHOLD DEBT WITH GDP
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างหนี้ครัวเรือนไทยกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
Authors: Ubonsri, Thanchanit
Saelim, Aunkung
Thaweevachiraphat, Puttiphat
ธัญชนิต อุบลศรี
อุ่นกัง แซ่ลิ้ม
พุฒิพัฒน์ ทวีวชิรพัฒน์
Keywords: Long-run relationship
Causality
Household Debt
GDP
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรรณิการ์ ตรีภักดีตระกูล. (2539). ค่าจ้างขั้นต่ำกับภาวะเงินเฟ้อในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ขนิษฐา วนะสุข, จุฬารัตน์ โฆษะโก และภาวนิศร์ ชัววัลลี. (2557). รายงานการวิจัยเรื่อง หนี้ครัวเรือนกับเศรษฐกิจภาคใต้. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
เฉลิมพล จตุพร. (2560). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวและการปรับตัวระยะสั้น. กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ฉวีวรรณ กาบขาว. (2561). ปัจจัยกำหนดความเป็นไปได้ในการก่อหนี้ภาคครัวเรือน. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์. (2562). การวิเคราะห์อนุกรมเวลาสำหรับเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ. รุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ลลิตา ขุดดา. (2559) หนี้ภาคครัวเรือนกับวัฏจักธุรกิจไทย. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สรา ชื่นโชคสันต์, สุพริศร์ สุวรรณิก, และธนัชพร สุขสุเมฆ. (2019). รายงานการวิจัยเรื่อง หนี้ครัวเรือนไทย: ข้อเท็จจริงที่ได้ จาก BOT-Nielsen Household Financial Survey: FAQ Issue 143. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
โสมรัศ จันทรัตน์, อัจจนา ล่ำชำ, ภูมิใจ ตั้งสวัสดิรัตน์ และกฤษฏ์เลิศ สัมพันธารักษ์. (2019). รายงานการวิจัยเรื่อง เข้าใจ พลวัตหนี้ครัวเรือนไทยผ่าน Big data ของเครดิตบูโร: aBRIDGEd. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป่วย อึ๊ง ภากรณ์.
อัครพงศ์ อั้นทอง. (2550). คู่มือการใช้โปรแกรม Eviews เบื้องต้น: สำหรับการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Marco Lombardi, Madhusudan Mohanty and Ithyock Shim. (2017). Research Topic The real effects of household debt in the short and long run (BIS Working Papers No.607). Bank for International Settlements.
Abstract: This research aims to study the relationship of Thai household debt and Gross Domestic Product (GDP) and its direction causality. The quarterly secondary data had been used since the first quarter of 2007 to the second quarter of 2019. The household debt data are categorized into 3 types: the outstanding loan of purchasing house, outstanding loans of hiring and purchasing vehicles, and outstanding loans of other personal consumptions, of which are collected from Bank of Thailand, whereas the GDP data is collected from the National Economic and Social Development Council (NESDC). The cointegration test and Granger causality techque are applied. The results of study indicate that all types of the outstanding loan and the GDP are statistically a long-run relationship from the cointegration test. For Granger Causality test, the outstanding loan of purchasing house are significantly caused the GDP, meanwhile, the GDP are significantly caused the outstanding loans of other personal consumption. Lastly, the outstanding loans of hiring and purchasing of vehicles and the GDP are signjficantly coused each other. Policy recommendations should be to implement appropriate measures to stimulate household consumption and to form financial awareness discipline, in line with interest rate policy for all types of loon.
งานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์และทิศทางความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างหนี้ครัวเรือนไทยกับผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ (GDP โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายไตรมาส ตั้งแต่ตรมาสหนึ่งปีพ.ศ2550 ถึงไตรมาสสองปีพ.ศ.2562 ของสินเชื่อคงค้าง ของการซื้อที่อยู่อาศัย สินเชื่อคงค้างของการซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ และสินเชื่อคงค้างของการบริโภคส่วน บุคคลอื่น ๆ ซึ่งจัดทำโดยธนาคารแห่งประเทศไทย กับ GDP ซึ่งจัดทำโดยสำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วิธี การศึกษาใช้การทดสอบความสัมพันธ์เชิงตุลยภาพในระยะยาว และทดสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลโดยใช้วิธี Granger Causality ผลการศึกษา พบว่า สินเชื่อคงค้างของการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลทั้ง 3 ประเภทกับ GDP มีความสัมพันธ์เชิง ดุลยภาพในระยะยาว และผลการทดสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พบว่า สิ่นเชื่อคงค้างของการซื้อที่อยู่อาศัยเป็นตัวกำหนด GDP อย่างมีนัยสำคัญ GDP เป็นตัวกำหนดสินเชื่อคงค้างของการบริโภคส่วนบุคคลอื่น 1 อย่างมีนัยสำคัญ และสินเชื่อคงค้าง ของการซื้อหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์กับ GDP เป็นตัวกำหนดซึ่งกันและกันอย่างมีนัยสำคัญ งานวิจัยนี้มีประโยชน์ ต่อรัฐบาลในการควบคุมการอกมาตรการการส่งเสริมการกระตุ้นการบริโภคของครัวเรือน และส่งเสริมให้ครัวเรือนตระหนัก ถึงวินัยทางการเงิน อีกทั้งสามารถนำไปปรับใช้กับการวางแผนนโยบายอัตราดอกเบี้ยงินกู้ของสินเชื่อทั้ง 3 ประเภทได้
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1088
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
มวล.pdf228.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.