Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1086
Title: Geopolitics of Ayutthaya Kingdom and its Trade Policy
ภูมิรัฐศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยากับนโยบายการค้า
Authors: Meethong, Dhitiphong
buppha, Chetsadakon
boonpa, Tanakorn
Sivokhamtham, Phiphat
srathongploy, sathira
ธิติพงษ์ มีทอง
เจษฏากร บุปผา
ธนกร บุญพา
บริพัทธ์ ศิวโมกษธร
สถิระ สระทองพลอย
Keywords: Ayudhya
Trade Policy
Geopolitics
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมศิลปากร. (2548). รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของ ฟาน ฟลีต(วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมฯ
จิตรสิงห์ ปิยะชาติ. (2554). แผ่นดินประวัติศาสตร์อยุธยา เรื่องราวหลากมุมรอบด้านและสมบูรณ์ของ แผ่นดินสยามสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: ยิปซี.
ธ ารตักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2551). อยุธยา เมืองท่านานชาติ. วารสารอยุธยาศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา. พระนครศรีอยุธยา ( 2550 ) พระราชพงศาวดารรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐ, ค ให้การชาวกรุงเก่า, ค ให้การขุนหลวงหาวัด.กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ศรีปัญญา
นิติ ตรีเกษม. ( 2563 ) พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน. กรุงเทพฯ: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์, สนพ.
ผาสุก พงษ์ไพรจิตร์และคริส เบเคอร์. (2557) ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มติชน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2542). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับบิเคชั่น.
กาสกร างศ์ตวัน ( 2561 ) นานาชาติในแผ่นดินอยุธยา ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์สยามกับตะวันตก. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา
มองซิเออร์ เดอะ ลาลูแบร์. ( 2561 จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณจักรสยาม. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญาวรางคณา นิพัทธ์สุข กิจ. ( 2563 ) ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : สารคดี สนพ.
Abstract: This article is intended to Study and analyze geopolitics related to government policy by presenting the state geography of Ayutthaya and trade policy. From the study found that The geography of the Ayutthaya Kingdom relies on natural conditions such as rivers and canals, and additional geography is created by digging canals for commercial purposes. The geopolitics stipulates that Ayutthaya has a policy to focus on inter-state trade. And there is trade control by the state And from the trade that supported Ayutthaya to prosper In short, Ayutthaya uses geography to support its geography. Becouse it has the advantage of being the midpoint of the trade route between Krungsri Ayutthaya and the various kinedoms
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐ โดย จะนำเสนอภูมิรัฐ ของกรุงศรีอยุธยากับนโยบายทางการค้า โดยจากการศึกษาพบว่า สภาพทางภูมิศาสตร์ของอาณาจักรอยุธยา นั้น อาศัยสภาพ ลักณะตามธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง เป็นต้น และมีการสร้างภูมิศาสตร์เพิ่มเติมโดยการขุดคลองเพื่อประโยชน์ในทาง การค้า ซึ่งภูมิรัฐศาสตร์ดังกล่าวกำหนดให้กรุงศรีอยุธยามีนโยบายที่จะมุ่งเน้นทำการค้าระหว่างรัฐ และมีการควบคุมการค้า โดยรัฐ และจากการค้านั้นได้สนับสนุนให้กรุงศรีอยุธยาให้มีความมั่งคั่ง กล่าวโดยสรุปอยุธยาใช้ลักษณะทางภูมิศาสตร์เพื่อการ สนับสนุนภูมิรัฐศาสตร์ของตน เนื่องจากมีข้อได้เปรียบในการเป็นจุดกึ่งกลางระหว่างเส้นทางการค้าระหว่างกรุ่งศรีอยุธยากับ อาณาจักรต่างๆ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1086
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.