Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1072
Title: The Application of Lean Thinking to Improve Purchasing Process A Case Study of an electronics parts company
การประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนในการปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อ กรณีศึกษาผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์
Authors: SIMTHIAM, SAROCHA
WONGINTA, THITIMA
สโรชา ซิ้มเทียม
ฐิติมา วงศ์อินตา
Keywords: optimization Lean concept purchasing process
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ประดิษฐ์ วงศ์มณีรุ่ง. (2552). 1-2-3 ก้าวสู่ลีน (Lean in action). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ภัทรนิษฐ์ บุญวัง. (2556). การประยุกต์แนวคิดแบบลีนเพื่อลดความสูญเปล่าในการผลิต : กรณีศึกษา บริษัท จำกัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย บูรพา.
รมิตา มุสิกพงศ์. (2558). การประยุกต์ใช้แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่าในการปรับปรุงกระบวนการผลิตของธุรกิจพลาสติกฟิล์ม: กรณีศึกษาบริษัท TPK. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, บัณฑิต- วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
วันรัตน์ จันทกิจ. (2547). 17 เครื่องมือนักคิด (17 Problem solving devices). กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. วิทยา สุหฤทดำรง. (2544). กุญแจสู่ความสำเร็จบนแนวคิดแบบลีน. กรุงเทพฯ: อินดัสเทรียล เทคโนโลยี รีวิว.
ศรินทร์รัศม์ เชยโพธิ์. (2559). การนำ เครื่องมือ QC 7 tools : flowchart มาวิเคราะห์ปัญหาในขั้นตอนการทำงาน วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย บูรพา.
วีระ จรัสศิริรัตน์. (2559). การศึกษาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมในการสั่งซื้อวตัถุดิบ กรณีศึกษาบริษัทผลิตเครื่องถ่ายเอกสาร และอะไหล่ วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุภรัตน์ พลูสวัสดิ์. (2559). การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของแผนกเอกสารขาออก กรณีศึกษาสายเรือแห่งหนึ่งในเขตพื้นที่ แหลมฉบัง วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุริยะ เลิศวัฒนะพงษ์ชัย. (2562). แปลงร่างธุรกิจด้วยลีน. กรุงเทพฯ: บีเอ็มจี เบรกธรู เมเนจเม้นท์ กรุ๊ป.
Abstract: The objective of this research is to study the operating procedures of the purchasing department and analyze the ways to reduce the steps of the purchasing process a case study of an electronic parts company. The researcher applied Value Stream Mapping technique to analyze current operating procedures in order to find procedures that need to be improved. The researcher has applied the 5W1H concept to analyze the causes of complaint problems. The ABC classification technique was applied to classify the group of products. Then, ECRS principles was used to reduce unnecessary processes of purchasing process. The result of this research revealed that the purchasing process can reduce from 11 steps to 8 steps and the overall operational time of the procedure reduce from 114 hours to 30.5 hours or 65.23 percent. It can be concluded that after the improvement, the purchasing process can be improved to meet the user needed and greatly reduce the complaints..
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนในการดำเนินงานของหน่วยงานจัดซื้อและวิเคราะห์หาแนวทางลดขั้นตอน การดำเนินงานของกระบวนการจัดซื้อของบริษัทกรณีศึกษาผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ โดยผู้วิจัยจะนำโดยใช้หลักแผนผังสาย ธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping) เพื่อวิเคราะห์ขั้นตอนในปัจุบันเพื่อหาขั้นตอนการทำงานที่จะต้องทำการปรับปรุง นำหลักการแนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วย 5W1H เพื่อหาสาเหตุหลักของปัญหาที่ถูกร้องเรียน ใช้วิธีการวิเคราะห์แบบเอบีซี (ABC Analysis) เพื่อจัดกลุ่มสินค้าเพื่อให้ง่ายต่อการดำเนินการปรับปรุง และใช้หลักการ ECRS เพื่อลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นต่อ กระบวนการ โดยผลจากการวิจัย พบว่า สามารถลดขั้นตอนการดำเนินงานจาก 11 ขั้นตอนเหลือ 8 ขั้นตอนการดำเนินงาน และ ยังสามารถลดระยะเวลาในการดำเนินงานโดยรวมของขั้นตอนดีขึ้นจาก 114 ชั่วโมง ลดเหลือเพียง 30.5 ชั่วโมง หรือลดลง ร้อยละ 65.23 สรุปได้ว่าหลังทำการปรับปรุงทำให้ขั้นตอนการดำเนินงานของกระบวนการการจัดซื้อสามารถตอบสนอง ผู้ใช้งานได้ดีขึ้นเป็นผลให้การร้องเรียนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลดลงเป็นอย่างมาก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1072
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.