Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1064
Title: Behavior and Satisfaction with The Use of Mobile Banking Services (MyMo) The Case Study of The Government Savings Bank in Uthaithani Area
พฤติกรรมและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้บริการ Mobile Banking (MyMo) กรณีศึกษาธนาคารออมสินเขตอุทัยธานี
Authors: Suwat, Pannarot
Udomwithit, Sommai
ปัณรส สุวาท
สมหมาย อุดมวิทิต
Keywords: Uthai Thani District
MyMo
Expected value
satisfaction
consumer behavior
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เกตน์นิภา เน็ญจชาติ. 2561. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการถอนเงินจากตู้ ATM ผ่าน MyMo My Card ของธนาคารออมสิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิทธิพงษ์ วรธงไชย. 2560. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่าน Mobile Banking (MyMo) ของลูกค้าธนาคารออมสิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรรณพร หวลมานพ. 2558. พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้แอพพลิเคชั่นเคโมบายแบงก์ กิ้งพลัส ของ ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาวารสารศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหาร สื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภัทรา ภัทรมโน. 2556. การรับรู้คุณภาพในการให้บริกรมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าพักรี สอร์ท ระดับ 4 ดาว ใน จังหวัดชลบุรี. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วรวุฒิ มีชัย. 2555. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขต กรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเอกระบบสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี.
ชูชัย สมิทธิไกร. 2553. พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัตยาพร เสมอใจ. 2550. พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: วีพริ้นท์ (1991).
Abstract: This research has objectives To study the behavior and satisfaction with using the Mobile Banking (MyMo) service of the Government Savings Bank, Uthai Thani District By using a questionnaire to collect 400 sets of data, the sample group is the population in Uthai Thani. The result of the research shows that 258 Mobile Banking (MyMo) users do not use Mobile Banking (MyMo) of 142 people. Female, age 21 - 30 years, single status, bachelor degree level Other occupations Income is less than 10,000 baht. The satisfaction of the sample Expect to have information in various transactions to check for accuracy. Before confirming every transaction Which the actual result is greater than the expected value Shows that users have trust in using Mobile Banking (MyMo) for the concrete aspects of the service, customer response, confidence for customers And customer care That the actual result, the average total is lower than expected Service providers must develop all aspects of the Application in order to meet the needs of most use. Will result in increased access to the customer group
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรมและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้บริการ Mobile Bonking (NyMo) ของ ธนาคารออมสินขตอุทัยธานี โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 400 ชุด กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขต อุทัยธานี ผลการวิจัย พบว่า ผู้ใช้บริการ Mobile Banking (MyMo) จำนวน 258 ราย ไม่ใช้บริการ Mobile Banking (MyMo) จำนวน 142 ราย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ อื่นๆ รายได้น้อยกว่า 10,000 บาท ด้านความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง คาดหวังให้มีข้อมูลในการทำรายการต่างๆเพื่อตรวจสอบ ความถูกต้อง ก่อนยื่นยันในการทำธุรกรรมทุกครั้ง โดยผลที่เกิดขึ้นจริงมากกว่าค่าคาดหวัง แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการมีความไว้วางใจ ในการใช้บริการ Mobile Banking (yMo) ส่วนในด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ, ด้านการตอบสนองลูกค้า, ด้านการให้ ความมั่นใจแก่ลูกค้า และด้านความใส่ใจลูกค้า นั้นผลที่เกิดขึ้นจริงค่าเฉลี่ยรวมต่ำกว่าความคาดหวัง ผู้ให้บริการต้องพัฒนา Application ทุกด้านดังกล่าวเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการใช้งานมากที่สุด จะส่งผลให้สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เพิ่มมากขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1064
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.