Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1059
Title: Effects of Various Fertilizers on Growth and Yield of Centrosema pascuorum cv. Cavalcade
ผลของปุ๋ยชนิดต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วคาวาลเคด
Authors: Umpuch, Kannika
Rungsang, Pimporn
กรรณิกา อัมพุช
พิมพ์พร รุ่งแสง
Keywords: cavalcade
growth
commercial soil
chemical fertilizer
vermicompost
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมปศุสัตว์. (2545). ถั่วคาวาลเคด. กรุงเทพฯ: กองปศุสัตว์สัมพันธ์ กรมปศุสัตว์.
กองอาหารสัตว์. (2540). เอกสารวิซาการกรมปศุสัตว์. กรุงเทพฯ: งาน BOI, เมืองทองธานี (เอกสารโรเนียว).
กองอาหารสัตว์. (2563ก). คาวาลเคด การผลิตเมล็ดพันธุ์และการทำถั่วแห้ง. ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.nutrition.dld.go.th/Nutritionknowlage/ARTICLE/Pro13.htm
กองอาหารสัตว์. (2563ข). คุณค่าทางโภชนะของถั่วคาวาลเคดแห้ง. ต้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.nutrition.dld.go.th/Nutitionknowlage/ARTICLE/ArtileW.htm
เกศกนก วงศ์ชยานันท์ และ คมกฤษณ์ แสงเงิน. (2563). ผลของปุยหมักมูลไส้เตือนต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศเชอรี่. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(1), 115-123. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี, ศักตา ประจักษ์บุญเจษฎา, กกพล มั่งชู, อานันท์ จันทร์โต, เกวลี เหมมาลา, พรรณธิภา ณ
เชียงใหม่ และ วรางคณา กิจพิพิธ. (2562). ผลการเสริมใบถั่วคาวาลเคดเป็นแหล่งโปรตีนและเยื่อใยอาหารต่อการ ย่อยได้ปรากฎของโภชนะ สมรรณะการผสิต ลักษณะชาก และคุณภาพเนื้อของไก่เนื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 21(2), 21-33.
ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์. (2542). ปีหมัก ดินหมัก และปุยน้ำชีวภาพเพื่อการปรับปรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: โอ เตียนสโตร์.
ทัศนีย์ ศรีโสภา. (2540). การทำปุ๋ยหมักโดยใช้ไส้เดือนดิน. เชียงใหม่: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร 1 กรมวิชาการ เกษตร.
วนิดา ชัยชนะ. (2560). ผลของการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เตือนตินต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของผักบุ้งจีนในชุมชนตำบล ห้วยหมอนทอง อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม จังหวัดนครปฐม, 28-29 กันยายน 2560, จังหวัตนครปฐม. น. 17-25.
สามารถ ใจเตี้ย. (2555). โครงการพัฒนารูปแบบการผลิตพืชผักสวนครัวเพื่อสุขภาพของประชาชนชุมชนสลวง-ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเขียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.
สายัณห์ ทัดศรี. (2547). พืชอาหารสัตว์เขตร้อน การผลิตและการจัดการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อานัฐ ตันโช. (2549). ไส้เดือนดิน (Earthworm). ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
Hare, M.D., Thumasaeng, K, Suriyajantratong, W., Wongpichet, K, Saengkhum, M., Tatsapong, p.,
Kaewkanya, C. and Booncharern, P. (1999). Pasture grass and legume evaluation on seasonally waterlogged and seasonally dry soils in North-East Thailand. Tropical Grassland, 33, 65-74.
Muscolo, A, Bovalo, F., Grionfriddo, F. and Nardi, S. (1999). Earthworm humic matter produces auxin-like effects on Daucus carota cell growth and nitrate metabolism. Soil Biology and Biochemistry ,31(9), 1303-1311.
Norman, Q. A, Clive, A., Edwards, P. B., James, D., & Metzger, C. L. (2005). Effects of vermicomposts produced from cattle manure, food waste and paper waste on the growth and yield of peppers in the field. Peedobiologia Journal of Soil Ecology, 49, 297-306.
Abstract: Cavalade is one of an important forage legume that the Department of Livestock Development encourages farmers to grow for hay making used as animal feed during the dry season. The objective of this research was to study the effect of different fertilizers on growth and yield of Cavalcade. The experiment was divided into three treatments each three replications that were commercial soil, commercial soil mixed with vermicompost, and commercial soil with chemical fertilizer, respectively. Plant height, leaf width, leaf number and dry matter yield were collected for 12 weeks. The results showed that plant height and leaf width of all three groups were not statistically different (P> 0.05), while using commercial soil resulted in the highest number of leaves per plant, followed by the use of vermicompost and chemical fertilizer, respectively (P<0.05). At the end of the experiment at 12 weeks, there was found that the use of vermicompost mixed with soil gave the best dry matter yield, followed by the use of chemical fertilizers and commercial soil at 21.15, 12.78 and 10.35 grams per square meter, respectively (P<0.05).
ถั่วคาวาลเคด เป็นถั่วอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิดหนึ่งที่กรมปศุสัตว์ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกสำหรับทำแห้งเพื่อใช้ เป็นอาหารสัตว์ในช่วงฤดูแล้ง งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปุ๋ยชนิดต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตของถั่วคาวาลเคด โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งเป็นสามกลุ่มกรทดลอง กลุ่มละสามช้ำ คือ กลุ่มที่ 1 ปลูกถั่วคาวาลเคดโดยใช้ดิน ผสมและไม่มีการใส่ปุย กลุ่มที่ 2 ปลูกถั่คาวาลเคดโดยใช้ดินผสมร่วมกับปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน และกลุ่มที่ 3 ปลูกถั่วคาวาลเคด โดยใช้ดินผสมร่วมกับปุ๋ยเคมี โดยเก็บข้อมูลการเจริญเดิบโตด้านความสูง ความกว้างใบ จำนวนใบ และผลผลิตทั้งต้นของถั่ว เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่ การเจริญเดิบโตด้านความสูง และความกว้างของใบของถั่วทั้งสามกลุ่มไม่ แตกต่างกันทางสถิติ ( P>0.05) ในขณะที่การใช้ดินผสมปลูกเพียงอย่างเดียวส่งผลให้ถั่วคาวาลเคดมีจำนวนใบต่อต้นมากที่สุด รองลงมาคือ การใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน และการใช้ปุ๋ยเคมี ตามลำดับ (P<0.05) เมื่อสิ้นสุดการทดลองที่ 12 สัปดาห์ พบว่า การใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนผสมกับดิน ส่งผลให้ถั่วคาวาลเคดให้ผลผลิตทั้งตันดีที่สุด รองลงมาคือการใช้ปุ๋ยเคมีและการปลูกโดย ใช้ดินผสมเพียงอย่างเดียว คือ 21.15, 12. 78 และ 10.35 กรัมต่อตารางเมตร ตามลำดับ (P<0.05)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1059
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.