Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1058
Title: THE EFFECT OF DUMBBELL TRANNING ON ARM MUSCLE DEVELOPMENT OF TERTIARY STUDENTS
ผลของการฝึกด้วยดัมเบลที่มีผลต่อการพัฒนากล้ามเนื้อแขนของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
Authors: Ploedprao, Paiwan
ไพวัน เพลิดพราว
Keywords: Arm muscle development
Strength training
Training with a dumbbell
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กฤตมุข หล่าบรรเทา. (2554).ผลการฝึกด้วยเครื่องออกกำลังกายแบบฟรีเวทที่ใช้แรงต้านจากแรงอัดอากาศผสม กับแรงต้านด้วยน้ำหนักในสัดส่วนที่แตกต่างกันต่อความแข็งแรงและพลังกล้ามเนื้อ. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การท่องเที่ยวและกีฬา, กระทรวง. (2560). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
คะนอง ธรรมจันตา. (2551). พฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษา คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะครุศาสตร์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เจริญ กระบวนรัตน. (2545). เทคนิคการฝกความเร็ว. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิทยาศาสตรการกีฬา การกีฬาแหงประเทศไทย. เอกสารอัดสำเนา.
ชูศักดิ์ เวชแพศย์ และกันยา ปาละวิวัธน์. ( 2528).สรีรวิทยาการออกกำลังกาย. พิมพ์ครั้งที่ 3กรุงเทพฯ: เทพรัตน์ การพิมพ์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เอกสารอัดสำเนา.
ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ช. (2536). หลักการกำหนดการออกกำลังกาย. วารสารสุขศึกษาพลศึกษาและสันทนาการ. 36(5): 9-12.
ธีรวิทย์ ชีตะลักษณ์. (2546). ผลของการฝึกด้วยน้ำหนักแบบหมุนเวียนที่มีต่อการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุขภาพ ของนักศึกษาชายในระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิฑูรย์ ยมะสมิต. (2552) ผลการฝึกกล้มเนื้อต้นขาด้วยน้ำหนักที่มีต่อความแข็งแรงและความเร็วในการวิ่ง 50 เมตร ของนักเรียนเตรียมทหารปีการศึกษา 2551. วิทยนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรต.
ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ. (2557). การฝึกกำลังกล้ามเนื้อโดยฟรีเวทหรือเครื่องยกน้ำหนัก. ค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2563 จาก https://www.bangkokhealth.com/health/article.
Beneka A& Mallius P. (2004). Isolated vs. Complex exercise in strength training the rotate cuff muscle group. Research: the journal of strength and conditioning.18: 144-148.
Fisher J, Steele J&Smith D.(2013). Evidence-Based resistance training recommendation for muscular hypertrophy. Medicine Spotiva.17:217-235
Hakkinen K& Paavolainen L. (2002). Neuromuscular adaptions during concurrent strength and endurance training. European journal of applied physiology. 89: 42-52.
Abstract: This research aims to study the effect of dumbbell training on the arm muscle circumference of tertiary students and to compare the differences of training with Dumbbells Affecting Arm Circumference Size of Higher Education Students. The sample in this research are students of the Institute of Physical Education Udon Thani Campus Between the ages of 19-23 years, 60 people were randomly selected. Divide the sample into 2 groups, each group of 30 people trained to lift 5 kilograms of dumbbells. The experimental group was trained by the dumbbell training program created by the researcher, and the control group practicing lifting dumbbells according to the popular style. Performed 3 exercises per week for 8 weeks, and then test by measuring the circumference of both arms the results were analyzed for statistical data by using the mean and standard deviation and test the difference of mean values by using T-test dependent statistics. The results of the research showed that 1) Dumbbell lifting training groups according to general popular style and trained according to the dumbbell lifting program created by the researcher, with the development of increased arm circumference in both arms after 8 weeks of training 2) The comparison of the mean sizes of the right arm and left arm circumference of the control group and the experimental group in dumbbell lifting showed that after the 4th-week training and after the 8th-week training, there was no statistically significant difference at the .05 level.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกด้วยดัมเบลที่มีผลต่อขนาดเส้นรอบวงกล้ามเนื้อแขน ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการฝึกด้วย ตัมเบลที่มีผลต่อขนาดเส้นรอบวงกล้ามเนื้อ แขนของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักศึกษาของสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตอุดรธานี ที่มีอายุระหว่าง 19-23 ปี จำนวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน ฝึกยกดัมเบลขนาดน้ำหนัก 5 กิโลกรัม กลุ่มทดลองฝึกตามโปรแกรมการฝึกยกดัมเบลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และกลุ่มควบคุมฝึก ยกดัมเบลตามแบบที่นิยมทั่วไป ทำการฝึก 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ แล้วทำการทดสอบโดยวัดขนาดเส้นรอบวง กล้ามเนื้อแขนทั้งสองข้าง นำผลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติที (T-test dependent เปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรว ทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มฝึกยกดัมเบลตามแบบที่นิยมทั่วไป และฝึกตามโปรแกรมการฝึกยกดัมเบล ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีการพัฒนาขนาดเส้นรอบวงกล้ามเนื้อแขนทั้งสองข้างเพิ่มขึ้นหลังจากการฝึก 8 สัปดาห์ 2)ผลการ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของขนาดเส้นรอบวงกล้ามเนื้อแขนขวาและแขนซ้ายของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองในการยกดัมเบล พบว่า หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ: การฝึกด้วยดัมเบล, การพัฒนากล้ามเนื้อแขน, ความแข็งแรง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1058
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.