Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1056
Title: Effect of Activities to Promote Practical Skills Use Software to Create Special Visual Techniques Based on Simpson's Conceptualization via Social Media for Undergraduate Student in Subject Animation and Digital Media
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมจัดทำเทคนิคพิเศษทางภาพตาม รูปแบบซิมพ์ซันผ่านสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาแอนิเมชั่นและดิจิทัลมีเดีย
Authors: Kusirirat, Kampanart
Nuchprayoon, Nuchsharat
กัมปนาท คูศิริรัตน์
นุชรัตน์ นุชประยูร
Keywords: Simpson's conceptualization
Social Media
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จรัสศรี พัวจินดาเนตร. (2558). รูปแบบการสอนทักษะการปฏิบัติในงานตัดเย็บด้วยกิจกรรมหมอนแฟนชีสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. รายงานวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัชพนธ์ สรภูมิ และเหมมิญญ์ ธปัทม์มีมณี. (2562). การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานประกอบแนวคิดของซิมพ์ซันเพื่อ เสริมสร้างทักษะปฏิบัติ และผสสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การวัดมัติมีเตอร์ สำหรับนักศึการะดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(2), 149-160.
นุชษนัย แม่บุญเรือน. (2555) . ผลการเรียนรู้ด้วยขุดการสอนแบบศูนย์การเรียนกับการสอนปกติ วิชาศิลปะ เรื่องทัศน ธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปฏิชญา เรื่องโค สนิท ตีเมืองซ้าย และอภิดา ชุณวาทย. (2562). บทเรียนบนเว็บโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด การพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ชันเพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 13(2), 133-141.
เอกศักดิ์ แหชัยภูมิ ทรงศักดิ์ สองสนิท และประวิทย์ สัมมาทัน. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียน การสอนของเดวีส์ผ่านสื่อสังคม เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมสำเร็จรูปด้านเอกสารสำหรับนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ. วารสารวิชาการการจัดกรเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 5(2), 20-29.
Simpson. D. (1972). Teaching physical education : A system approach. Boston : Houghton Mufftin Co.
Abstract: The purposes of this research were 1) to develop activities to promote practical skills Use Software to create special visual techniques based on Simpson's conceptualization via social media, 2) to compare practical skills among students studied by Activity to promote software operating skills with student groups that study by normal teaching methods and 3) to assess Students' satisfaction with software skills promoting activities to promote practical skills Use Software to create special visual techniques based on Simpson's conceptualization via social media. The population and samples used in the research were students in animation and digital media. Bansomdejchaopraya Rajabhat University Registered for the course Digital media image sequencing and editing using sample random sampling by divided the students into 2 groups, 22 control groups and 25 students in a normal group. Tools used include activities to promote practical skills. Practice Skill Test, observation form and questionnaires for learning activities. Statistics used in the analysis were average, percentage, standard deviation and t-Test Dependent. Results of the research revealed that the overall skills promotion activities were suitable at a high level and the usage was at a high level. The skills' development activities that were developed consisted of 7 steps which were 1 perception Stage, 2 Preparedness, 3 Responsive Control Stage, 4 Action until became a mechanism that can be done by yourself, 5 expert action, 6 improve and apply, and 7 initiative. Comparison of the group of students learning by using skills promoting activities were higher than those in the normal learning groups. With statistical significance at the level of .05. Student opinions in learning management Learning activities Skills, practice with averaging at a high level. Keyword: Practical skills Using make special effects software, ,
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมจัดทำเทคนิคพิเศษทางภาพตาม แนวความคิดของชิมพ์ชันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติระหว่างกลุ่มนักศึกษาที่เรียนด้วยกิจกรรม ส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมจัดทำเทคนิคพิเศษทางภาพตามแนวคิดของซึมพ์ชันผ่านสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาแอนิมชั่นและดิจิทัสมีเดียกับกลุ่มนักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีการเรียนการสอนปกติ และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อกิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมจัดทำทคนิคพิศษทงภาพตามแนวความคิดของซิมพ์ซันผ่านสื่อสังคม ออนไลน์สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาแอนิมชั่นและดิจิทัสมีเดีย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาสาขาวิชา แอนิมชั่นและดิจิทัสมีเดีย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการลำดับภาพและตัดต่อ ดิจิทัลมีเดีย ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายแบบจับฉลากกลุ่มหมู่เรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม จำนวน 22 คน และกลุ่ม ปกติ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปรแกรมจัดทำเทคนิคพิเศษทางภาพตามแนวิดของ ซิมพ์ชัน แบบวัดทักษะปฏิบัติ แขบสังกตการฝึกปฏิบัติ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที่ ผลการวิจัย พบว่า กิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติโปแกรมจัดทำเทคนิคพิเศษทางภาพตามแนวิดของซิมพ์ซัน ในภาพรมมีความหมาะสมอยู่ในระดับมากและการนำไปใช้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก กิจกรรมส่งเสริมทักษะปฏิบัติที่ พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ ชั้นที่ 1 ขั้นการรับรู้ ขั้นที่ 2 ขั้นการเตรียมความพร้อม ขั้นที่ 3 ขั้นตอบสนองภานใต้ การควบคุม ขั้นที่ 4 ชั้นการให้ลงมือกระทำจนกลายเป็นกลไกที่สามารถกระทำได้เอง ขั้นที่ 5 ขั้นการกระทำอย่างชำนาญ ชั้นที่ 6 ขั้นปรับปรุงและประยุกต์ใช้ และขั้นที่ ขั้นการคิดริเริ่ม ผลการเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติของนักศึกษาที่เรียนด้วยกิจกรรม ส่งเสริมทักษะปฏิบัติสูงกว่ากลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 ผลความพึงพอใจของนักศึกษาด้าน การจัดการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียน ด้านทักษะฝึกปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1056
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.