Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNinkron, Paranee-
dc.contributor.authorPhuaphonthep, Saowarot-
dc.contributor.authorNakamadee, Benchamaphorn-
dc.contributor.authorMahamit, Warawut-
dc.contributor.authorSookkul, Kantarote-
dc.contributor.authorภารณี นิลกรณ์เสาวรส-
dc.contributor.authorพัวพลเทพ-
dc.contributor.authorเบญจมาภรณ์ นาคามดี-
dc.contributor.authorวราวุฒิ มหามิตร-
dc.contributor.authorคันธรส สุขกุลร-
dc.date.accessioned2021-05-17T14:18:28Z-
dc.date.available2021-05-17T14:18:28Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2556). ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุในครอบครัวสูงวัยในประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 4(2),-
dc.identifier.citationจิตนภา ฉิมจินดา. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในชีวิตของผ้สูงอายุในชุมชน จังหวดนครปฐม วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน.-
dc.identifier.citationชุติไกร ตันติชัยวนิช. (2551). ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.-
dc.identifier.citationพิมพิสุทธิ์ บัวแก้ว และรติพร ถึงฝั่ง. (2559). การดูแลสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย 21(2), 94-109.-
dc.identifier.citationปานเนตร ปางพุฒิพงศ์. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2556. คันเมื่อ 2 มีนาคม 2562 จาก www.thaitgri.org.-
dc.identifier.citationอภิชัย มงคล และคณะ. (2554). รายงานการวิจัยการศึกษาดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์พระธรรมขันธ์.-
dc.identifier.citationนริสา วงศ์พนารักษ์. (2557). ภาวะซึมเศร้า : ปัญหาสุขภาพจิตสำคัญในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก 15(3), 24-31.-
dc.identifier.citationสุกัญญา วชิรเพชรปราณี. (2553). บทบทผู้สูงอายุที่อยู่กับครอบครัวอย่างมีสุขในชุมชนกึ่งเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา 15(1), 50-59. 92-103.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1052-
dc.description.abstractThis research aims to study Mental Health Promotion Program according to local wisdom in Thung Khwang elderly club Kamphaengsaen Nakhon Pathom The sample used in the study was the elderly in the age group. Both male and female among 60 person were divided into experimental groups 30 person and control groups 30 person. Without dementia Live in the community And domicile Thung Khwang Kamphaengsaen Nakhon Pathom Province I can help myself. A sample This research is a quasi-experimental research (quasi experiment) by means of data collection by questionnaire. (Questionnaire) Statistics used in data analysis are based on basic statistical analysis tools. Post-test only control group design .The experimental group was randomly assigned to the control group and the experimental group. The result of this study were found that the comparison of knowledge about the change in the elderly ( = 22.33) stress management skills ( = 22.37 ) Self-esteem ( = 22.0 7 ) and receiving support from society and agencies ( = 22.5 3). It was found that after the experiment, the experimental group gained more knowledge. The suggestion for this study were additional activities should be implemented to increase the effectiveness of the program and there should be further studies in other areas Keywords: ,,en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิตตามหลักภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมรมผู้สูงอายุ ตำบลทุ่งขวาง อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้สูงอายุในชมรมผู้สงอายุ ทั้งเพศชายและ หญิง จำนวน 60 ราย แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 30 ราย และกลุ่มควบคุม 30 ราย ที่ไม่มีภาวะสมองเสื่อม อาศัยอยู่ในชุมชน และ มีภูมิลำเนาใน ตำบลทุ่งขวาง อำเภอกำแพงแสน งหวัดนครปฐม ซึ่งสามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี การวิจัยในครั้งนี้เป็นการ วิจัยกึ่งทดลอง (quosi experiment) ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลโดยเครื่องมือที่ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้เครื่องมือการวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์การเปรียบเทียบ Post - test only control group design เป็นแขบวิจัยที่มีการสุ่มกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง แต่ทดสอบหลังการทดลองอย่างเดียว จากการศึกษาพบว่าการ เปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ (X - 22.33) ทักษะการจัดการความเครียด (X - 22.37) การเห็น คุณค่าในตนเอง ( = 22.07 และการได้รับการสนับสนุนจากสังคมและหน่วยงาน ( - 22.53) ซึ่งพบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความรู้เพิ่มมากขึ้น ข้อเสนอนะสำหรับการวิจัยในครั้งนี้ ควรมีการนำกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มเดิม มาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของโปรแกรม และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในพื้นฐานที่อื่น ๆ ต่อไป-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectMental healthen_US
dc.subjectLocal wisdomen_US
dc.subjectelderlyen_US
dc.titleMental Health Promotion Program according to local wisdom in Thung Khwang elderly club, Kamphaengsaen Nakhon Pathomen_US
dc.titleโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิตตามหลักภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมรมผู้สูงอายุ ตำบลทุ่งขวาง อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม-
dc.titleโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิตตามหลักภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมรมผู้สูงอายุ ตำบลทุ่งขวาง อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.