Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1046
Title: Macroeconomic Factors Affecting Return on Common Stock of Financial Sector in the Stock Exchange of Thailand
ปัจจัยมหภาคที่มีผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิชย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Authors: Chalampuch, Thanawat
Harnphattananusorn, Supanee
ธนวัฒน์ ชลัมพุช
สุภาณี หาญพัฒนะนุสรณ์
Keywords: Return on common stock of financial sector
Stock Exchange of Thailand (SET)
Macroeconomic factors affecting
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Abstract: The purpose of this research was to study macroeconomic factor affecting return on common stock of financial sector in the Stock Exchange of Thailand. The independent variables were consumer price index, business sentiment index, coincident economic index, 1 day interest rate and Thai baht/US dollar exchange rate. Monthly data for a total of 60 months from January 2015 to December 2019 were applied. Estimation technique was multiple regression analysis. Results from stationary testing showed that consumer price indexes, coincident economic index and Thai baht/US dollar exchange rate. were I(1) and there were long run relationship. According to based model. OLS estimation result has autocorrelation problem leading to biased and inefficient problem. Therefore, we solved autocorrelation problem by using AR model. Optimal lag length is Lag(1). The results from AR model which is unbiased and efficient showed that business sentiment index and return on common stock of financial sector in the Stock Exchange of Thailand for past 1 month have positive statistically significant with return on common stock of financial sector of financial sector in the Stock Exchange of Thailand.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยมหภาคที่มีผลกระทบต่อัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาคาร พาณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้แก่ ด้ชนีราคาผู้บริโภค อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สรอ. อัตรา ดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะเวลา 1 วัน ดัชนีพ้องเศรษฐกิจและดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ในช่วงเวลาตั้งแต่เดือน มกราคม 2558 ถึงเดือนธันวาคม 2562 โดยใช้ข้อมูลรายเดือน รมระยะเวลาทั้งหมด 60 เดือน โดยการวิเคราะห์ฤดถอยเชิง พหุคูณ (Mutiple Regression Analysis) ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinay Least Squore: OLS) ผลการทดสอบ stotionay ของข้อมูลพบว่า คือ อัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาครพณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดัชนี ราคาผู้บริโภค ดัชนีพ้องเศรษฐกิจ และอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สรอ. มีลักษณะไม่นิ่ง (Non-Stotionary) และ มี Order of Integroted ที่อันดับเดียวกัน คือ อันดับที่หนึ่ง [(1)] และเมื่อทำการทดสอบ Cointegration ด้วยวิธีของ Johansen พบว่ผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนี ความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ดัชนีพ้องเศรษฐกิจ อัตราดอกเบี้ตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะเวลา 1 วัน อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อ เงินดอลลาร์สรอ. มีความสัมพันธ์กันเชิงดุลยภาพในระ ยะยาว จึงนำตัวแปรข้างต้นไปประมาณค่าด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด พบว่าเกิดปัญหา Autocorrelation จึงแก้ไขปัญหาด้วยการใช้แบบจำลอง AR และการเลือก Lag Order ที่เหมาะสม คือ L0g(1) เพื่อให้สัมประสิทธิ์ที่ได้จากการประมาณค่าไม่เอนเอียงและมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลการการประมาณค่าพบว่าดัชนีความ เชื่อมั่นทางธุรกิจ และอัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยย้อนหลัง 1 เดือน มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับอัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1046
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.