Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1030
Title: Prone Position in Patient with Acute Respiratory Distress Syndrome: Case Study
การจัดท่านอนคว่ำในผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน: กรณีศึกษา
Authors: Mahasuk, Supreda
สุปรีดา มหาสุข
Keywords: Acute Respiratory Distress Syndrome (ARDS)
Prone Position
Supine Position
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จารุณี ทรงม่วง. (2560). การพยาบาลผู้ป่วย Acute Respiratory Distress Syndrome. เวซบันทึกศิริราช, 10 (3), 174-179
เฉลิมไทย เอกศิลป์, เกศนี เชาราชกุล, สรศักดิ์ โลห์จินดารัตน์, พนิดา ศรีสันต์ และประวิทย์ เจนตชัย. (2551). ผลของการ นอนคว่ำต่อการแลกเปลี่ยนก็ซออกซิเจนของผู้ป่วยเด็กที่เกิดภาวะหายใจล้มเหลวอย่างรุนแรงที่รักษาด้วย เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง: กุมารเวชสาร. 15 (1), 72 - 77.
ธนรัตน์ พรศิริรัตน์ และ สุรัตน์ ทองอยู่. (2559) การพยาบาลผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลันที่ใช้เครื่องพยุงการ ทำงานของหัวใจและปอด ECMO: เวชบันทึกศิริราช. 9 (1), 44-50.
พุทธพงศ์ นิภัสตรา. (2561). กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน : การรักษาตามหลักฐานเชิงประจักษ์ พุทธชินราชเวชสาร. 35 (1), 116-125.
เพชร วัชรสินธุ์ และ พิมสาย คุณากร. (2556). การรักษา ARDS แบบประคับประคองโดยไม่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. วิสัญญีสาร. 39 (4), ภาควิชาวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ภาศวิชาพยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิด ล. (2563). คู่มือการส่งตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ. ค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2563 จาก htps://www.simahidol.ac.th/th/manual/Project/content.
ศูนย์รวบรวมข้อมูล โรงพยาบาลนครปฐม. (2563). สถิติผู้ป่วย: โรงพยาบาลนครปฐม. คันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.nkpthospital.go.th/th/
สมรัก รังคกูลนุวัฒน์. (ม.ป.ป.). Lung Recruitment in ALI/ARDS. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อติคุณ ลิ้มสุคนธ์. (2556). New Era in ARDS: ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยบทความการป ระชุมวิชาการสัญจร ครั้งที่ 23 ณ โรงพยาบาลลำปางภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ หาวิทยาลัยเชียงใหม่. คันเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2563 จาก www.rcpt.org/index.php/cme/71-cme-interesting-conferences/348- new-era-in- ards-.html.
Abstract: Objectives: To compare the nursing outcomes of the prone position and normal supine position in patients with acute respiratory distress syndrome (ARDS). Method: 2 case studies were selected by purposive sampling in patients with acute respiratory distress syndrome who was hospitalized in Nakhon Pathom Hospital. The data were collected from medical records, interviewed patients and their relative The functional health pattern of Gordon was used to assess health problems to planning a holistic nursing care including nursing care, nursing diagnosis, nursing care planning program, and to evaluate the outcome of nursing care. Results: Case study 1, a 91-year-old Thai female patient with significant symptoms of fever, cough, breathless 1 day before coming to the hospital, she has diagnosed with influenza type A and pneumonia. Case study 2, a 61-year-old Thai female patient with significant symptoms of unconsciousness and convulsions before coming to the hospital for 1 hour and received an endotracheal tube from the community hospital. She has diagnosed with status epilepticus together with pneumonia due to bacterial infection resistance. (Acinetobacter baumannii: A. baum. MDR). Later, both patients have increased breathlessness because of acute respiratory distress syndrome (ARDS), with the case 2 being more severe symptoms than case 1. They have treated with standard care. But was different from arranging the position, the first patient has the supine position as usual, the second patient used the prone position. The nurses closely monitored and prevented various complications. When monitoring and evaluating nursing results, all of them getting better in ARDS, but they could not improve in acute kidney injury (AKI). Conclusion: These findings suggest that the prone position arrangement with standard care in patients with severe acute respiratory distress syndrome (ARDS) can help patients with better symptoms. Should therefore be developed and used the prone positioning as the clinical nursing practice guideline for severe ARDS.
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเยบผลลัพธ์ทางการพยาบาลของการจัดท่นอนคว่ำและท่นอนหงายตามปกติในผู้ป่วย กลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน วิธีการศึกษา: กรณีศึกษา 2 ราย เลือกแบบเจาะจงในผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจสำบากเฉียบพลัน ที่เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลนคปฐม เก็บรวบรวมข้อมูลจากวชระเบียนผู้ป่วย ผู้ป่วยและญาติ กำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลโดยใช้ แนวคิด 1 1 แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน วางแผน ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล สรุปและประเมิน ผลลัพธ์ทางการพยาบาล ผลการศึกษา: กรณีศึกษารายที่ 1 ผู้ป่วยหญิงไหยวัย 91 ปี อาการสำคัญ ข้ ไอ หายใจหอบเหนื่อย ก่อนมา โรงพยาบาล 1วัน แพทย์วินิจฉัยเป็นโรคข้หวัดใหญ่ชนิด A และปอดอักสบ กรณีศึกษารายที่ 2 ผู้ป่วยหญิงไทยวัย 61 ปี อาการสำคัญ ชักกร็ง ไม่รู้สึกตัว ก่อนมาโรงพยาบาล 1 ชั่โมง ได้รับการใส่ห่อช่วยหายใจจากโรงพยาบาลชุมชน แพทย์วินิจฉัย เป็นโรคลมชักร่วมกับปอดอักเสบจากการติดเชื้อแบคที่เรียดื้ อยา (Acinetobacter baumanni: A. baum. MDR) ต่อมา ผู้ป่วยทั้ง 2 ราย หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น มีกาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน โดยรายที่ 2 มีอาการรุนแรงกว่า แพทย์ ให้การดูแลรักษาตามมาตฐาน แต่แตกต่างกันที่ ผู้ป่วยรายที่ 1 มีการจัดท่านอนหงายตามปกติ ส่วนผู้ป่วยรายที่ 2 ใช้การจัด ท่านอนคว่ำ โดยพยาบาลดูแลฝ้าระวังป้องกันภาวแหรกช้อนอย่างใกล้ชิด เมื่อติดตามประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาลพบว่า ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลันของผู้ป่วยดีขึ้นทั้ง 2 ราย แต่ผู้ป่วยมีภาวะแทรกช้อนไตวายเฉียบพลันจึงมีอาการ ทรุดลง สรุป: การจัดทำนอนคว่ำร่มกับการดูแรักษาตามมาตรฐานในผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลันรุนแรง สามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น จึงควรนำมาพัฒนาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติการพยาบาลต่อไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1030
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
99.pdf217.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.