Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPrommal, Wuttipat-
dc.contributor.authorSrisomphan, Jiraphan-
dc.contributor.authorวุฒิภัทร พรมมา-
dc.contributor.authorจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์-
dc.date.accessioned2021-05-17T04:54:48Z-
dc.date.available2021-05-17T04:54:48Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationพรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2559). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.-
dc.identifier.citationมนต์ชัย เทียนทอง. (2545). การออกแบบและการพัฒนาคอร์สแวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. ภาควิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2562), หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา พณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร : สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ.-
dc.identifier.citationสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.-
dc.identifier.citationศยามน อินสะอาด. (2561). การออกแบบบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. พิมพ์ครั้งที่ 1. จำนวน 2,500 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1020-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop computer-assisted instruction (CAI) on the intemet based on the model, interacting with creative thinking activities to improve the graphic design works, 2) to find out the effectiveness of the developed CAI, 3) to compare the achievement of leamners before and after studying by using the CAI, 4) to find the quality of the graphic design outcomes, and 5) to find the students satisfaction on the leaming method. The tools used in this research consisted of the CAI on the internet, the student achievement test, the student outcomes evaluation form, and the satisfaction assessment form. The sample was 36 first year certijficate level students of Business Computer Department, Thonburi Commercial College. The sample was drawn using simple selection method. The results of the study showed that the efficiency of the developed CAI on the intemet network was at 93.25 / 82.43 which was higher than the specified efficiency criterion at 80/80. The learning achievement was statistically significant improved at 0.05 than before learning. The average of student satisfaction toward the developed CAI lesson was 4.35 which was in the high criterion and 80 percent of all learner works were good quality works.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เฟือ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2) หาประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมฟิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนขึ้น 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4) หาคุณภาพของผลงานการออกแบบ 5) ศึกษาความฟังพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินผลงานของผู้เรียน แบบประเมินความฟังพอใจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาคอมฟิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 36 คน โดยวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.25 / 82.43 สูงกว่าเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนดไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 คุณภพผลงานของผู้เรียนมีคุณภาพดีมากกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนทั้งหมด และผู้เรียนมีความฟังพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.35 อยู่ในเกณฑ์ มาก-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectComputer Assisted Instructionen_US
dc.subjectSample Based Learningen_US
dc.subjectDesign Thinkingen_US
dc.titleThe Development of Computer Assisted Instruction on the Internet Network based on the Sample Based Learning, with the Design Thinking Activities to Improve Graphic Design Worksen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แบบตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการคิดเชิงสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมการออกแบบงานกราฟิก-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
12.pdf417.65 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.