Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1008
Title: Factors Affecting the Adoption Of Agricultural Resource Management Technices of Upland Rice in Prachuap Khiri Khan Province
ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ในจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
Authors: Amaraporn, Donlaya
Vijitsrikamol, Kampanat
Chittamart, Nuttapol
ดลยา อมราภรณ์
กัมปนาท วิจิตรศรีกมล
ณัฐพล จิตมาตย์
Keywords: adoption
agricultural resources management techniques
Upland rice
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: Davis. (1989). Technology Acceptance Model. Victoria: NSEC Company.
Hadush Hagos. (2018). Factors affecting adoption of upland rice in Tselemti district, northern Ethiopia: Springer Nature.
วนิดา สุจริตธุระการ และคณะ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ของเกษตรกรใน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่
ดวงใจ สุริยาอรุณโรจน์คณะ. (2553).ข้าวไร่. กรมการข้าว
ศุภวรรณ ภู่พันธ์. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ระบบบำบัดของเสียจากฟาร์ม สุกรของผู้ประกอบการในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พรรณธิภา ณ เชียงใหม่และคณะ. (2559). รายงานโครงการเพิ่มศักยภาพข้าวไร่ภายใต้การมีส่วน ร่วมของเกษตรกรในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรรณธิภา ณ เชียงใหม่และคณะ. (2559). รายงานการศึกษาความต้านทานการหักล้มของข้าวไร่ในแปลงที่มีระดับความ อุดมสมบูรณ์ดินแตกต่างกัน. สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร.
ฌานิกา จันทสระและคณะ. (2559). รายงานการศึกษาคุณค่าทางโภชนะของเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ที่รวบรวมได้ในพื้นที่จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร
.ยุภา ปู่แตงอ่อนและคณะ. (2559). รายงาน การศึกษาการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ต้นทุนต่ำสำหรับการปลูก ข้าวไร่. สถาบันวิจัยและพัฒน มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุวิมล ชินกังสดาร. (2559). การศึกษาความหลากหลายของแมลงในแปลงข้าวไร่. สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Abstract: This research project aimed to study economic and social conditions and resource management in upland rice production of the framers in the area of Ban Pa La-U village, Huai Sat Yai Sub-district, Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan Province. The current study also aimed to study factors influencing an adoption of agricultural resources management techniques in rice framing of the agricultural people in the mentioned area. Interviews were conducted to collect data from participants – researchers working under the project relating to promoting agricultural resource management techniques for field rice production. Subdistrict administration organisation officials and heads of farmer's household were also involved in the interviews. Descriptive statistical analysis was performed to analyse the conditions of economics, society and resource management in upland rice production. A Chi-squared Test was employed to analyse the factors affecting the adoption of agricultural resource management techniques of upland rice production. The findings indicated that the factors affecting the adoption of agricultural resource management techniques of upland rice production included social status, main occupation, information access, distance from farmers’ house to the community learning centre, Techniques’s Silpakorn University and Techniques of Environmental protection. Moreover, to promote the adoption of agricultural resource management techniques of upland rice production and build up people’s motivation for a growing future adoption, the advantages of these techniques should be promoted to the public so that the agricultural people feel more aware of the techniques’values, significances and benefits to be more adopted in a wider network.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการจัดการทรัพยากรในการผลิตข้าวไร่ ของเกษตรกรในพื้นทีบ้านป่าละอู ตำบลหัวสัตว์ใหญ่ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการ ยอมรับเทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ของเกษตรกรในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยรวบรวมข้อมูล จากการสัมภาษณ์นักวิจัยจากโครงการส่เงสริมเทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร สำหรับการวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ สังคม และ การจัดการทรัพยากรในการผลิตข้าวไร่ คือ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการ เทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ คือ ใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi Square Test) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ คือ ปัจจัย ด้านสถานะทางสังคม ปัจจัยด้านการประกอบอาชีพหลัก ปัจจัยด้านการรับรู้ข่าวสาร และปัจจัยด้านระยะทางจากบ้านถึงศูนย์ การเรียนรู้ชุมชน ปัจจัยด้านเทคนิคของมหสวิทยาลัยศิลปากร และปัจจัยด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการยอมรับ เทคนิคการจัดการทรัพยากรเกษตรสำหรับการผลิตข้าวไร่ และเกิดแรงจูงใจในการยอมรับเพิ่มมากขึ้น ควรส่งเสริมให้มีการ ประชาสัมพันธ์ในข้อดีของเทคนิคฯ เพื่อให้เกษตรกรตระหนักในคุณค่า เห็นความสำคัญ และเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ของ เทคนิคฯ จนในไปสู่การยอมรับในวงกว้างมากขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1008
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.