Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorLimpapaun, Sitti-
dc.contributor.authorThamma-Apiroam, Rewat-
dc.contributor.authorสิทธิ ลิมปะพันธุ์-
dc.contributor.authorเรวัตร ธรรมาอภิรมย์-
dc.date.accessioned2021-05-16T13:34:25Z-
dc.date.available2021-05-16T13:34:25Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationจินดามาส สุทธิชัยเมธี. (ม.ป.ป.). การประยุกต์ใช้ ARIMA Model เพื่อการวิจัย. สุทธิปริทัศน์, 108-
dc.identifier.citationเจียรนัย ฉัตรสุริยะอาภา. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของธุรกิจการพาณิชย์กรณีศึกษาของสถาบัน การเงินในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1004-
dc.description.abstractThis study aims to study the factors of macro-economics affected to SET index in both normal and other various conditions in each quarter from January 1st , 2009 to March 31st, 2019 by analyzing data with Co-integration and Granger Causality Testing. The results shows that the independent variables which affecte the change of SET index is Gold bullion price. The analysis of each economic condition indicates that in time of economic slowdown and Economic Recession, the independent variables which affecte the change of SET index is Real GDP Growth Rate. In the condition in which the economy is recovering, Dow Jones Industrial Average index and the policy rate is the independent variables which caused the change of SET index. As for the economic prosperity, there are no independent variables that caused the change of SET index.en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในแต่ละสภาวะ เศรษฐกิจ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ แบบรายไตรมาส ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยวิธี Co-integration และ Granger Causality Testing ผลการศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลต่อมูลค่าดัชนี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า มีตัวแปรอิสระที่เป็นสาเหตุการเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย คือ ราคาทองคำแท่ง สำหรับการศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในแต่ละสภาวะเศรษฐกิจ พบว่า ในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว และภาวะเศรษฐกิจหดตัว ตัวแปรอิสระที่เป็นสาเหตุ การเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่แท้จริง ในภาวะเศรษฐกิจฟื้นตัว ตัวแปรอิสระที่เป็นสาเหตุการเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ และอัตราดอกเบี้ยนโยบาย สำหรับภาวะเศรษฐกิจขยายตัว ไม่มีตัวแปรอิสระที่เป็นสาเหตุการ เปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectThe Stock Exchange Of Thailand (SET)en_US
dc.subjectEconomic conditionen_US
dc.titleEconomic Factors Influencing The Stock Exchange of Thailand (SET) Indexen_US
dc.titleปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.