Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSaeueng, Pradtana-
dc.contributor.authorSueklan, Wanida-
dc.contributor.authorSangkapinyo, Chonnikan-
dc.contributor.authorKongin, Areerat-
dc.contributor.authorWongthong, Tanarat-
dc.contributor.authorSriaim, Suwannee-
dc.contributor.authorชนนิกานต์ สังขภิญโญ-
dc.contributor.authorธนารัตน์ วงษ์ทอง-
dc.contributor.authorอารีย์รัตน์ คงอินทร์-
dc.contributor.authorสุวรรณี ศรีอิ๋ม-
dc.contributor.authorปรารถนา แช่อึ้ง-
dc.date.accessioned2021-05-16T04:01:45Z-
dc.date.available2021-05-16T04:01:45Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationวนิดา เสือกลั่น-
dc.identifier.citationจิติกานต์ จินรักษ์. (2551). กระบวนการถ่ายทอดการบรรเสงระนาตเอกของครูประสิทธิ์ ถาวร กรณีศึกษาชุต เพลินเพลงพาทย์ระนาดเอก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต (วัฒนธรรมศึกษา) บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิตล.-
dc.identifier.citationจุรีวรรณ จันพลา และคณะ. (2554). รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยทรงดำ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ส าชักงานส่งเสริมวัฒนธรรม.-
dc.identifier.citationนริศรา วัฒนสิน. (2557). กรถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษาการทอผ้าเกาะยอจังหวัดสงขลาและ การทอผ้านาหมื่นศรี จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา นอกระบบ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร์.-
dc.identifier.citationปิยวรรณ สุขเกษม. (2563). ชาวบ้านต าบส่ผ่หูช้าง สัมภาษณ์, 12 มีนาคม 2563-
dc.identifier.citationภูเนต จันทร์จิต และคณะ. (2556). รายงานการวิจัย ไทยโซ่ง: การอนุรักษ์ผ้าโบราณเพื่อสืบสานอัตลักษณ์ ทางชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.-
dc.identifier.citationแร่ ทองตอนเหมือน. (2559). สมาชิกกลุ่มหัตกรรมผ้าทอมือ บ้านตอนทอง หมู่ 2. สัมภาษณ์, 5 เมษายน และ 13 พฤษภาคม.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/977-
dc.description.abstractThe objective of this research is to study the history of Ban Phai Hu Chang and the history of Thai Song Dam weaving in Ban Phai Hu Chang Subdistrict, Bang Len District, Nakhon Pathom Province. Changes in the loss of Thai Song Dam community textiles Ban Phai Hu Chang Subdistrict, Bang Len District, Nakhon Pathom Province Conservation guidelines for Thai Song Dam woven fabrics Ban Phai Hu Chang Subdistrict, Bang Len District, Nakhon Pathom Province Not to disintegrate according to social conditions and time, the study found that Ban Pha Hu Chang community is descendants of Thai Song Dam who migrated from the province Phetchaburi with the wisdom of weaving along with the way of life But from the trend of economic change and The society entering the community affects the change of weaving and weaving wisdom. Including the traditional Thai dress in daily life that gradually disappeared from the community The researcher has suggested the transferring knowledge and preserving the weaving wisdom, consisting of 3 methods which are 1) Guidelines for transferring wisdom to people in Ban Phai Hu Chang Community With the allocation of loom For new members to weave in the house Determining the quality of woven fabrics and the selling price into several levels, managing the sales channels Allowing external agencies to help develop sales channels, develop and increase value of woven fabric products And increasing opportunities for using Thai Song Dam in the community 2) Guidelines for transferring wisdom to students of Ban Phai Hu Chang With instruction Weaving for the students of Ban Phai Hu Chang School Encouraging the children to dress in the traditional Thai Song Dam costume and develop cooperation with teachers of Ban Phai Hu Chang School. 3) Guidelines for the transfer of wisdom by developing a learning source By organizing learning resources The area around the houses of the villagers that still conserve weaving with a few ancienten_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมาของบ้านไผ่หูช้างและประวัติการทอผ้าไทยทรงคำในตำบล บ้านไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม 2)การเปลี่ยนแปลงและการสูญหายของผ้หอชุมชนไทยทรงคำ ตำบลบ้านไผ่หู ช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์ผ้ทอไทยทรงคำ ตำบลบ้านไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ผลการศึกษาพบว่าชุมชนบ้านไผ่หูช้างเป็นลูกหลานชาวไทยทรงคำที่อพยพมาจากจังหวัดเพชรบุรีโคยมีภูมิ ปัญญาการทอผ้าอยู่คู่มากับวิถีชีวิต แต่จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เข้ามาในชุมชนส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของผ้ท่อและภูมิปัญญาการทอผ้า รวมถึงการแต่งกาย แบบไทยทรงตำในชีวิตประจำวันที่ค่อย ๆ หายไปจาก ชุมชน โดยผู้วิจัยได้เสนอแน่ะแนวทางการถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้า ประกอบไปด้วย 3 แนวทาง ได้แก่ 1) แนวทางการถ่ายทอดภูมิปัญญาแก่คนในชุมชนบ้านไผ่หูช้าง ด้วยการจัดสรรกี่ทอผ้า แก่สมาชิกใหม่ไปทอตามบ้าน การกำหนดคุณภาพของผ้าทอและราคาจำหน่ายเป็นหลายระดับ การบริหาร ช่องทางการจำหน่าย การให้หน่วยงานภายนอก เข้ามาช่วยพัฒนาช่องทางจำหน่าย การพัฒนาและ เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ผ้าทอ และการเพิ่มโอกาสในการใช้ผ้าไทยทรงดำ ในชุมชน 2) แนวทางการถ่ายทอดภูมีบัญญาแก่เด็กนักเรียนบ้านไผ่หูช้าง โดยมีการเรียนการสอน การทอผ้าให้แก่เด็กนักเรียน โรงเรียนบ้านไผ่หูช้าง การส่งเสริมให้เด็กได้มีการแต่งกายด้วยชุดทยทรงตำ ประยุกต์ และการพัฒนาความร่วมมือกับครู โรงเรียนบ้านผ่หูช้าง 3) แนวทางการถ่ายทอดภูมิบัญญาด้วยการพัฒนาเป็นแหล่งเรีนรู้ โดยการจัดแหล่งเรียนรู้ ฟื้นที่บริเวณ บ้านของชาวบ้านที่ปังอนุรักษ์การทอผ้าด้วยก็โบราณ-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectConservationen_US
dc.subjectThai Song Damen_US
dc.subjectWeavingen_US
dc.titleGuidelines for preserving local textile wisdom of Thai Songdam Community Ban Phai Hu Chang Subdistrict, Bang Len District, Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.titleแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาผ้าทอท้องถิ่นของชุมชนไทยทรงดำ ตำบลบ้านไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.