Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/957
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Naulhom, Vanlee | - |
dc.contributor.author | Kanchanapong, Thongchai | - |
dc.contributor.author | Subwipada, Saowaluk | - |
dc.contributor.author | Thongprasert, Namfon | - |
dc.contributor.author | วัลสี นวลหอม | - |
dc.contributor.author | ธงชัย กาญจนพงศ์ | - |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ ทรัพย์วิภาตา | - |
dc.contributor.author | น้าฝน ทองประเสริฐ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-15T10:33:34Z | - |
dc.date.available | 2021-05-15T10:33:34Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | จักรพันธุ์ วิลาสินีกุล, "ผู้หญิงในจิตรกรรมฝาผนังไทย,' แปลจาก Alec Gordon, "Women in Thai Society as Depicted in Mural Painting", Traditional T'ai Arts in Contemporary Perspective (Bangkok: White Lotus, 1998), 185-191. http://www.thaicitic.com/?p=132 (สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563) | - |
dc.identifier.citation | ชานันท์ ยอตหงษ์. "นายใน" สมัยรัชกาลที่ 6. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพ: ส้านักพิมพ์ส้มใส, 2558. | - |
dc.identifier.citation | แซรแวส, นิโกลาส์. ประวัติศสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราซอาณจักรสยาม. แปลโตย สันต์ ท. โกมลบุตร. นนทบุรี: ศรี ปัญญา, 2550. | - |
dc.identifier.citation | ตารารัตน์ เมตตาริกานนท์."ระบบผัวเตี่ยวหลายเมียในสังคมไทย ". วารสารในศิลปวัฒนธรรม 6, ฉ.5 (มีนาคม, 2528): 31-33. | - |
dc.identifier.citation | ธนากิต ทรัพย์กระจ่างและคณะ. ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย. กรุงเทพฯ: ปิรามิต, 2550. "ธรรมเนียมการครองเรือนของมนุษย์แบบตั้งเติม" https://thepeople.co/polyandrychive.library.tu.ac.th (สืบค้นเมื่อ วันที่ 13 มิถุนายน 2563). | - |
dc.identifier.citation | บรัตเลย์, แตน บีซ. หนังสืออักขราภิธานศรับท์. พระนศร: คุรุสภา, 2514. | - |
dc.identifier.citation | ปิยะนาถ อังควาณิซกุล. "ความคิดกับการก้าหนดสถานภาพสตรี". วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วีโรต 18, ฉ.21 (มกราคม-ธันวาคม, 2558): 54-56. | - |
dc.identifier.citation | ปรีตี หงษ์สต้น, "ระบอบสมบูรณาฐาสิทธิราชย์กับความแตกต่างทางวัฒนธรรมในช่วงเปลี่ยนผ่าน ทศวรรษที่2440-2450" https:/www.academia.edu/32496718 (สืบต้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563). | - |
dc.identifier.citation | พระยาอรรถการีย์นิพนธ์, อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) ณ มรุหน้า พลับพลาอิสริยาภรณ์วัดเทพศิรินทราวาส. 17 กรกฎาคม 2521, บทที่ 10 หน้า 51-54. | - |
dc.identifier.citation | โรม บุนนาค, "รัฐบาลห่วงใยประชาชน กลัวเฉื่อยซาต่อการสืบพันธุ์", http:/www.mgronline.com (สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563). ป | - |
dc.identifier.citation | โรม บุนนาค, "รัฐบาลห่วงใยประชาชน กลัวเฉื่อยซาต่อการสืบพันธุ์", http:/www.mgronline.com (สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563). | - |
dc.identifier.citation | ว.วินิจฉัยกุล. รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บ้ารุงสาส์น, 2539. ส.พลายน้อย. พระบาทสมเด็จฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์, 2542. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/957 | - |
dc.description.abstract | This academic paper aims to study the values, spouses and marriages of Thai society. From the Sukhothai period to Ayutthaya until the Rattanakosin period In the past, many single-family families of Thai society That is, according to the factors of social structure, politics, traditions, beliefs, values, education, and law, until the arrival of the Western nation causes the husband and wife system to become unstable. Women want more freedom. And some groups of people want to develop Thailand to be comparable with the western countries Do not want the West to accuse Thai people of being barbaric as a reason to claim possession of Thailand Thailand therefore has announced a law allowing Thai men to have only one legitimate wife. Must have marriage registration Child registration certificate And spouses will end only when the divorce was registered during the Field Marshal P. Pibulsongkram. This law became more clear. And a joint campaign was announced regarding Thai women to have only one husband And Thai men can have only one wife And allowing weddings to take place in Thai society. | en_US |
dc.description.abstract | บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับคำนิยมการมีผัวเมียและการแต่งงานของสังคมไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา เรื่อยมาจนถึงสมัยวัตนโกสินทร์ แต่เดิมลักษณะครอบครัวแบบผัวเดียวหลายเมียของสังคมไทย ที่เป็นไปตามปัจจับเรื่อง โครงสร้างทางสังคม การเมือง ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม การศึกษา และกฎหมาย จนกระทั่งการเข้ามาของชาติตะวันตกทำ ให้ระบบความคิดเรื่องผัวเดียวหลายเมียเริ่มสั่นคลอน สตรีต้องการมีเสริภาพมากขึ้น และบุคคลบางกลุ่มต้องการพัฒนา ประเทศไทยให้มีความทัดเทียมกับชาติตะวันตก ไม่ต้องการให้ชาติตะวันตกกล่าวหาว่าคนไทยล้าหลังบำเถื่อน เพื่ออ้างเป็น เหตุผลแล้วเข้ามาครอบครองดินแดนไทย ไทยจึงมีการประกาศกฎหมายให้ชายไทยมีเมียที่ถูกต้องตามกฎหมายได้เพียงคน เดียว ต้องมีการจดทะเบียนสมรส จดทะเบียนรับรองบุตร และการเป็นผัวเมียจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อมีการจดทะเบียนหย่า ในสมัย จอมพล ป. พิบูสสงคราม กฎหมายนี้เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้น และมีการประกาศร่วมถึงรณรงค์เรื่องให้หญิงไทยมีผัวได้คน เดียว และชายไทยมีมียได้เพียงคนเดียว และให้มีการจัดงานแต่งงานเกิดขึ้นในสังคมไทย | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | single husband | en_US |
dc.subject | single husband | en_US |
dc.subject | multiple wife | en_US |
dc.subject | single wife | en_US |
dc.title | The starting point of the single wife in Thai society | en_US |
dc.title | จุดเริ่มต้นค่านิยมผัวเดียวเมียเดียวในสังคมไทย | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
จุดเริ่มต้นค่านิยมผัวเดียวเมียเดียวในสังคมไทย.pdf | 157.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.