Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/929
Title: | Health problems in Pamelo’s agriculturist ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ |
Authors: | Jumnian, Malinee Sanyod, Vartinee Sooksataphonlarte, Prasinee มาลินี จำเนียร วาร์ธินีย์ แสนยศ ภาศินี สุขสถาพรเลิศ |
Keywords: | health problems Pamelo’s agriculturist Good agriculture practice : GAP |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. วิธีการเฉพาะในการลดความเครียด. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2561 สืบค้นจาก
http://www.dmh.go.th /news/view.asp?id=1012 กลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนส้มโอนครชัยศรี (2560). เอกสารอัดสำเนา. กองส่งเสริมการเกษตร. (2557). รายงานข้อมูลภาวการณ์ผลิตพืช(รต.02).จังหวัดนครปฐม ประจำปี 2557. จุลจิรา ธีรชิตกุล. (2555). การจัดการอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุที่มีอาชีพกรีดยางพารา. วารสารสภาการ พยาบาล ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555. ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ. (2561) เกษตรกรคือความภูมิใจคือรางวัลยิ่งใหญ่ในชีวิต สืบค้นเมื่อ5พฤศจิกายน 2561. สืบค้น จาก https://www.rakbankerd.com/agriculture/guru-view.php?id=95 นาวิน จิตเทศ. (2560). ภาวะสารพิษในร่างกาย. ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ในเครือโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. เอกสารอัดสำเนา. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์. (2551). การเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพ ฯ : จามจุรี โปรดักท์. ปรเมษ คีรีเมฆ. (2549). ปัจจัยจากการปฏิบัติงานที่ก่อให้เกิดความเครียดและวิธีการคลายเครียดของบรรณารักษ์ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. ปวดกล้ามเนื้อ สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.pobpad.com/. พนม เกตุมาน ภาวะเครียด. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2561 สืบค้นจาก http://www.psyclin. co.th/new_ page_82.htm. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (2553). ระเบียบกรมประมงว่าด้วยการออกใบรับรองการปฏิบัติทางการผลิตสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการ ผลิตสัตว์น้ำจี.เอ.พี. (GAP). ราชวัลย์ กันภัย. (2554). การวิเคราะห์หาพื้นที่ประสบอุทกภัยมีน้ำท่วมขังเขตเกษตรกรรมและชุมชนในปี พ.ศ.2554 พื้นที่ ภาคกลาง. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ.(2546). รายงานผลการศึกษาในโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังสิ่งคุกคามทางด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม. นนทบุรี. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ.(2547). รายงานผลการศึกษาในโครงการพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังควบคุมป้องกัน ความผิดปกติจากกล้ามเนื้อและข้อในกสิกรไทย. นนทบุรี. สำนักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม. (2554). การตรวจสอบความเสียหายส้มโอที่ประสบอุทกภัย ปี 2554. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักนายกรัฐมนตรี. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555 - 2559. กรุงเทพมหานคร. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ. (2561) รายงานข้อมูลแรงงานด้านการเกษตรและประมง. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2562, สืบค้นจาก http://envocc.ddc.moph.go.th/. |
Abstract: | The purpose of the research was to study health problems included health care in pamelo’s
agriculturists and compare health problems of them who used and did not used GAP . The sample
comprised of 400 pamelo’s agriculturists by purposive sampling. The tool was used by questionnaire and
interview guideline. Data were collected by interviewing and focus group discussion. Data analyzed by
descriptive, t-test and qualitative data used content analysis.
The results founded that the health problems of them who used and did not used GAP were not
different. The pamelo’s agriculturist who used GPA means safe, not only use chemicals but also stop
using before storing for a specified period of time. There will be residue but not more than standard. The
most health problems of them are muscle pain, stress, headache, fatigue, drug poisoning, chronic illness,
economic problems, social problems, family problems both physically and mentally. For health care
behavior pamelo’s agriculturists wore protective equipment before used insecticide. They washed hands,
shower and wash their hair every time after used insecticide. The potential health needs has to take
care of themselves and their families. They ignore annual physical examination unless they have health
problems then they go to see the doctor regularly. The physical health check-up will be added when
they have diseases.
Recommendation suggested that sub-district administrative organization and district health
promotion hospital used to do action plan for develop health policy and occupation health in
agriculturist. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ และเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพของ เกษตรกรที่ใช้และไม่ได้ใช้ วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี กลุ่มตัวอย่างคือเกษตรกรชาวสวนส้มโอ 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแนวคำถามเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และ สนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา t-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอที่ใช้และไม่ได้ใช้วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ไม่แตกต่าง กัน การปลูกส้มโอแบบวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี คือเกษตรกรปลอดภัย ไม่ใช่ปลอดสารพิษ สามารถใช้สารเคมีได้แต่หยุด ใช้ก่อนเก็บตามกำหนด มีสารตกค้างไม่เกินค่ามาตรฐาน ปัญหาสุขภาพที่พบคือปวดเมื่อยตามร่างกาย เครียด ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย น้อคยา เจ็บป่วยเรื้อรัง ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม ปัญหาครอบครัวและปัญหาจากการทำงาน ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมในการป้องกันก่อนใช้ยาฆ่าแมลงใช้อุปกรณ์ป้องกันครบชุด การปฏิบัติตัวหลังใช้ ยามีการล้างมืออาบน้ำสระผมทุกครั้ง ความต้องการในการดูแลสุขภาพนั้น เกษตรกรไม่เห็นความสำคัญในการตรวจร่างกาย ประจำปี นอกจากที่มีปัญหาสุขภาพอยู่แล้วจำเป็นต้องไปหาหมอเป็นประจำ หรือเมื่อมีโรคประจำตัวก็จะมีการตรวจสุขภาพ ประจำปี ข้อเสนอแนะ. นำผลการวิจัยไปวางแผนการทำงานพัฒนานโยบายด้านการส่งเสริมอาชีพของเกษตรกรตามบริบทของสังคม และการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเกี่ยวกับการประกอบอาชีพทำสวนส้มโอในพื้นที่ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/929 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ.pdf | 228.31 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.