Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/788
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | น้ำใจดี, อารีย์ | - |
dc.contributor.author | ยืนยาว, พิชญาภา | - |
dc.date.accessioned | 2020-03-30T14:17:12Z | - |
dc.date.available | 2020-03-30T14:17:12Z | - |
dc.date.issued | 2562-07-12 | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/788 | - |
dc.description.abstract | การเปลี่ยนแปลงให้ทันยุคดิจิทัลนั้นเป็นความท้าทายครั้งยิ่งใหญ่ ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการ นำองค์กรให้เป็นองค์กรยุคดิจิทัลซึ่งเป็นพื้นฐานของการพัฒนาการศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21 หลักคิดในการนำไปสู่การพัฒนา คนได้นั้น ผู้บริหารจำเป็นต้องคำนึงด้านต่าง ๆ คือ 1) ด้านกลยุทธ์ (Digital Strategy) กลยุทธ์ทางดิจิทัลที่ดีต้องสอดคล้อง และส่งเสริมให้องค์กรสามารถบรรลุพันธกิจ และวิสัยทัศน์ขององค์กร 2) ด้านความสามารถของบุคลากร (Workforce Skills) บุคลากรสำหรับองค์กรดิจิทัลต้องมีความรู้ความเข้าใจด้านเทคโนโลยี (Digital-Proficiency Workforce) ความสามารถในการ คิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ความสามารถในการทำงานแบบยืดหยุ่น (Agile) เพื่อให้สามารถจัดการโครงการภายใต้ การเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับประโยชน์สูงสุด และ 3) ด้านวัฒนธรรมองค์กร (Culture) การเป็นองค์กร ดิจิทัลต้องมีความพร้อมในการปรับตัว ความว่องไวต่อการเปลี่ยนแปลง และความยืดหยุ่นในการดำเนินการThe transition to the digital age is a great challenge. Education executives are an important role in bringing organizations into the digital age organization, which is the foundation of the 21st-century study of the concept of leading the development of people. Executives are required to take into account the various aspects: 1) Strategic digital strategy, a good way to meet and encourage organizations to achieve corporate mission and vision, 2) The capabilities of the personnel (Workforce Skills) Digital organization must have knowledge of the technology (Digital-Proficiency Workforce), the ability to design thinking (Design Thinking) can be flexible to work with. (Agile) to be able to manage projects under change efficiently and get the most out of 3) Corporate Culture (culture) The digital organization must be ready to adapt. Agility, change, and flexibility to perform | en_US |
dc.subject | การบริหารการศึกษายุคดิจิทัล | en_US |
dc.subject | ผู้นำ | en_US |
dc.title | ผู้นำกับการบริหารการศึกษายุคดิจิทัล Leader and Educational Management in Digital Era | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ประชุมวิชาการครั้งที่ 11_100.pdf | 264.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.